All articles
-
ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่คาดการณ์จากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลแบบสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียภายในปี พ.ศ.2573 : ข้อค้นพบหลัก
เมืองชายฝั่งทั่วเอเชียกำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้น คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(IPCC) เตือนว่า การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ระหว่าง 0.43-0.84 เมตรภายในปี พ.ศ.2643 (IPCC, 2019) ขณะเดียวกัน ตลอดศตวรรษที่ 21 พายุมีความเร็วลมรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายมากขึ้น คลื่นพายุซัดฝั่งที่สูงขึ้น และปริมาณน้ำฝนที่มีสภาวะสุดขีดมากกว่าในอดีต (Knutson et al., 2020)
-
การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อเมืองชายฝั่งในเอเชีย
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ระบุว่า ภายในปี 2573 การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและน้ำท่วมแนวชายฝั่งในสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียอาจนำไปสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจราว 724,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
-
หรือโลกกำลังเผชิญการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่อีกครั้ง เมื่อสัตว์ทะเลอพยพออกจากเส้นศูนย์สูตร
ปัจจุบัน มีงานวิจัยที่ระบุว่ามหาสมุทรบริเวณรอบ ๆ เส้นศูนย์สูตรเริ่ม ‘ร้อน’ เกินไปสำหรับสัตว์ทะเลหลายชนิด พวกมันจะไม่รอดหากอาศัยอยู่ในน้ำทะเลที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป ซึ่งตัวการสำคัญของเหตุการณ์นี้คือ ‘ภาวะโลกร้อน’
-
พายุทรายที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออกเกี่ยวข้องกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศหรือไม่
ช่วงเช้าของวันที่ 15 มีนาคมที่ผ่านมา ประชาชนในกรุงปักกิ่งตื่นมาพร้อมกับท้องฟ้าที่กลายเป็นสีส้มอันเนื่องมาจากกระแสลมแรงพัดพาพายุทรายขนาดใหญ่ที่มาจากมองโกเลีย พายุทรายได้ทำให้ระดับมลพิษทางอากาศพุ่งสูงขึ้นในหลายพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นตอนเหนือของจีน เกาหลี และบางพื้นที่ของญี่ปุ่น สำนักงานอุตุนิยมวิทยาของจีนบอกว่าพายุทรายนี้เป็น "พายุทรายที่ใหญ่ที่สุดในรอบทศวรรษ"
-
5 เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วในภูมิภาคเอเชียตะวันออก บ่งบอกว่าเราต้องแก้ไขปัญหาวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ทีมวิจัยของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกได้เก็บรวบรวมเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather events)ทั่วทั้งภูมิภาคที่เกิดขึ้นในปี 2563
-
โพลาร์ วอร์เท็กซ์: ยามเมื่อเครื่องปรับอากาศโลกเริ่มรวน
กรุงเทพฯหนาว เวียดนามหิมะตก จีนหนาวสุดขั้ว สภาพภูมิอากาศเหล่านี้มิได้หมายความว่าโลกของเราหลุดพ้นจากวิกฤตโลกร้อนแล้ว แต่นี่คือหนึ่งในปรากฎการณ์สภาพภูมิอากาศแปรปรวนที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเป็นผลกระทบที่เกิดการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น
-
เมื่อเราต้องเฝ้ามองปะการังที่ไต้หวันค่อย ๆ ฟอกขาวไป
อดีตเจ้าหน้าที่ระดมทุนของกรีนพีซ ซู เจียฉวน (Xu Jiaquan) หรือที่รู้จักกันในนาม “ชริมป์โรล” (Shrimp Roll) ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นครูสอนดำน้ำที่เกาะกรีนไอส์แลนด์ ได้มาเล่าประสบการณ์ให้พวกเราได้ฟัง ว่าเขาจะต้องเห็นปะการังเจอกับอะไรบ้างในปีที่ผ่าน ๆ มา
-
สภาพภูมิอากาศกำลังวิกฤต เมื่อน้ำแข็งในอาร์กติกกำลังหายไป
ปรากฎการณ์น้ำแข็งในขั้วโลกเหนือละลายคือสัญญาณเตือนถึงวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
รายงานฉบับใหม่ระบุ สภาพภูมิอากาศสุดขั้วเป็นภัยคุกคามความมั่นคงทางอาหารและความหลากหลายทางชีวภาพของแอฟริกา
9 พฤศจิกายน 2563, โจฮันเนสเบิร์ก - รายงานจากกรีนพีซแอฟริการะบุ เหตุการณ์สภาพภูมิอากาศสุดขั้ว” หรือ Extreme Weather Event เช่น คลื่นความร้อน อุทกภัย และฝนตกหนัก เกิดขึ้นในแอฟริกาบ่อยครั้งในหลายพื้นที่ของแอฟริกา ซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสุขภาพประชาชน ความมั่นคงทางอาหาร สันติภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
-
เพราะอะไร บราซิลจึงเผชิญกับไฟป่า
ในขณะที่ไฟป่ายังคงเผาทำลายป่าฝนเขตร้อนที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตลอดเวลาที่ผ่านมารัฐบาลประเทศบราซิลกลับสุมไฟให้แรงขึ้นแทนที่จะช่วยดับไฟ โดยสนับสนุนกลุ่มคนในธุรกิจการเกษตรที่เป็นต้นเหตุของไฟป่าที่เกิดขึ้น