All articles
-
พบไมโครพลาสติกในอุจจาระและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์คุ้มครองในไต้หวัน
รายงานผลการศึกษาที่จัดทำโดยสำนักงานกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ในกรุงไทเป ของเกาะไต้หวัน แสดงให้เห็นการตรวจพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองหลายชนิดในไต้หวัน รวมถึงหมีดำฟอร์มาซาน และกวางป่าไต้หวัน อีกทั้งยังมีการตรวจพบไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำที่รวบรวมจากถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์คุ้มครองเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าบรรดาสัตว์ที่ได้รับการคุ้มครองทั้งหลายมีการสัมผัสและกินไมโครพลาสติกเข้าไป แม้จะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของพวกมันเอง
-
ปัญหาไม่ได้อยู่ที่พลาสติก แต่อยู่ที่การจัดการ
เริ่มจากดูคลิปของไกลบ้าน ที่มีพี่ต่อพูดวลี “ถ้าเราใช้หลอด แล้วเต่าทะเลล่ะ จะทำยังไง”
-
มลพิษพลาสติกในทะเล ใครควรเป็นคนรับผิดชอบ?
มหาสมุทรนับว่าเป็นปอดของโลก ครึ่งหนึ่งของอากาศที่หายใจเข้าไปมาจากที่นี่ แต่ตอนนี้มหาสมุทรของพวกเรากำลังถูกทำลายจากมลพิษพลาสติกที่มาจากพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง (single-use plastic) และเครื่องมือการทำประมง มลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นในมหาสมุทรนับว่าเป็นภัยคุกคามที่อาจส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเลรวมถึงความสามารถในการผลิตก๊าซออกซิเจนให้เราหายใจ
-
เริ่มที่ตัวเองพอไหม? ชวนตั้งคำถามถึงนโยบายการจัดการมลพิษพลาสติกของรัฐ
ประเด็นพลาสติกหรือประเด็นสิ่งแวดล้อมเนี่ย มันไม่ใช่เรื่องไกลตัวเรา มันแทบจะอยู่ทุกช่วงเวลาในชีวิตประจำวันเรา เเต่คนมักมองข้ามปัญหาขยะพลาสติก เพราะคิดว่าตอนนี้มันสะดวกสบาย เเต่ไม่คำนึงถึงผลกระทบที่จะตามมาในอนาคตกันเลย เจมส์อยากให้มองย้อนกลับมาที่ตัวเองว่า คุณพยายามที่จะลดการใช้แล้วหรือยัง คุณพยายามที่จะใช้เสียงของตัวเองให้ภาครัฐได้ยินไหม ควรลดความเห็นแก่ตัว เเล้วก็ใส่ใจสิ่งแวดล้อมให้มากกว่านี้ ไม่เพียงแค่สังคมไทย แต่รวมไปถึงสังคมโลก
-
วิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมทำให้เกิดการตั้งคำถามกับกฎหมายที่กำลังบังคับใช้ในประเทศไทยมากขึ้นและมากขึ้นอยู่เรื่อย ๆ 
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอะไรก็ตามที่เกิดขึ้นเรามักได้ยินวลีคุ้นหูว่า “เริ่มที่ตัวเอง” แต่ตัวเองในที่นี้อาจเริ่มต้นจากรัฐหรือไม่ รัฐควรเป็นแขนขาให้กับคนที่ต้องการแก้ไขทุกปัญหาที่เกิดขึ้น “ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาใดมักเกิดมาจากโครงสร้างระบบที่ผิดพลาด
-
หลุมพรางของการฟอกเขียว(greenwashing)
ในขณะที่เราทุกคนออกมาปกป้องโลก หลายบริษัทกลับใช้กลยุทธ์ “การฟอกเขียว” เพื่อสร้างภาพลักษณ์ดูเป็นมิตรต่อโลกและเพิ่มยอดขายให้กับตัวเอง
-
ประเทศในซีกโลกใต้กำลังเจอปัญหา ‘ขยะสิ่งทอ’ ผลกระทบจากอุตสาหกรรม Fast Fashion
แม้ว่าแบรนด์ฟาสต์ แฟชั่น หลายแบรนด์กำลังโปรโมทนโยบายเศรษฐกิจหมุนเวียนให้กับอุตสาหกรรมอย่างหนักหน่วง แต่สถานการณ์ในปัจจุบันได้แสดงให้เห็นแล้วว่าสิ่งที่โปรโมทมาทั้งหมดคือมายาคติ เพราะความล้มเหลวของโมเดลธุรกิจของอุตสาหกรรมดังกล่าวปรากฎให้เห็นว่าสุดท้ายแล้วขยะเสื้อผ้าราคาถูกมหาศาลถูกทิ้งเป็นภูเขาขยะในหลายประเทศ
-
โคคา-โคล่า กับ เป๊ปซี่ ใครจะก้าวมาเป็นผู้นำสร้างระบบใช้ซ้ำและระบบเติม
เมื่อไม่นานมานี้ โคคา-โคล่าประกาศให้คำมั่นว่าจะผลิตบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำหรือระบบเติมที่ให้ผู้บริโภคนำภาชนะส่วนตัวมาเติมสินค้าเองได้ลง 25% ภายในปี 2573 แล้วแบรนด์ยักษ์ใหญ่ในธุรกิจเดียวกันอย่างเป๊ปซี่ล่ะ มีคำมั่นที่จะนำระบบใช้ซ้ำและระบบเติมอย่างไรบ้าง
-
พลาสติก ความรับผิดชอบของผู้ผลิต และวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ราคาของวิกฤตความสะดวกสบาย
เราไม่สามารถผ่านพ้นวิกฤตมลพิษพลาสติกที่เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เลย หากยังคงเน้นเพียงการสร้างจิตสำนึก หรือมุ่งไปที่การทำให้ผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมเพียงอย่างอย่างเดียวเท่านั้น
-
ตีแผ่ภาวะฉุกเฉิน สภาพภูมิอากาศ: บริษัทผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคช่วยอุตสาหกรรมน้ำมันยักษ์ใหญ่ ขยายการผลิตพลาสติกได้อย่างไร
รายงานฉบับนี้ เราจะสำรวจว่า แบรนด์ผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคนั้นล้มเหลวที่จะลดการพึ่งพาพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งอย่างมีนัยสำคัญ และการลงทุนอย่างต่อเนื่องของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีมูลค่าหลายพันล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อขยายกำลังการผลิตพลาสติกนั้นนำไปสู่ความนิยมพลาสติก (plastic boom) ที่อาจขยายกำลังการผลิตเป็น 3 เท่าภายในปี 2593 ได้อย่างไร