All articles
-
ข้อสรุป CBD COP15 ตระหนักถึงการปกป้องระบบนิเวศของชนพื้นเมือง แต่ยังคงไม่หยุดยั้งภัยคุกคามที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่
มอนทรีออล, แคนาดา – ตามมติสุดท้ายในการประชุมเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP15 กรีนพีซมีความยินดีที่ได้เห็นว่าการประชุมดังกล่าวยอมรับสิทธิ บทบาท อาณาเขตและภูมิปัญญาของชนพื้นเมือง ในการปกป้องผืนดิน ผืนน้ำ เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
-
‘เหมือนแต่ไม่เหมือน’ การประชุมเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP15 ที่น่าจับตาไม่แพ้การประชุมด้านสภาพภูมิอากาศ COP27
การประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) ก็ถูกจัดขึ้นเดือนธันวาคมปีนี้ ที่มอนทรีออล แคนาดา โดยจะมีกลุ่มผู้นำจากประเทศต่างๆ เดินทางมาประชุมและเจรจาเพื่อหาทางปกป้องระบบนิเวศที่ถูกทำลายและการปกป้องสิ่งมีชีวิตจากการสูญพันธุ์
-
4 ปีหลังแอมะซอนถูกทำลายหนัก เราจะมีหวังฟื้นฟูป่าในอนาคตหรือไม่?
จากข้อมูลตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2021 ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2022 มีพื้นที่ป่าแอมะซอนถูกทำลายไปเทียบเท่าสนามฟุตบอล 1.6 ล้านสนาม หมอกควันปริมาณมากจากการไฟป่ากลายเป็นผลกระทบต่อสุขภาพกับชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ยิ่งไปกว่านั้น พวกเขาต้องสูดดมควันพิษซึ่งเป็นอันตรายในขณะที่ก็ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เลวร้ายจากการระบาดของโรคโควิด - 19 อีกด้วย
-
กรีนพีซเรียกร้องให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว สนับสนุนด้านการเงินเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพผ่านในการประชุม COP15
มอนทรีออล แคนาดา – การสนับสนุนด้านการเงินให้กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา กลุ่มชนพื้นเมืองและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ เป็นปัจจัยสำคัญและเป็นข้อเจรจาในการประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) ที่เกิดขึ้นที่มอนทรีออล อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กลุ่มประเทศที่ร่ำรวยยังคงไม่ตกลงที่จะสนับสนุนด้านการเงินเพื่อทำให้เป้าหมายการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกสำเร็จ หากไม่มีกองทุนก็อาจทำให้แผนปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมายเป็นไปได้ยากขึ้น
-
บทสรุป COP27 และอนาคตการปกป้องสภาพภูมิอากาศ
ไฮไลท์สำคัญจาก COP27 ก้าวต่อไปของการร่วมกันแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
-
เทศกาลเพื่อลมหายใจเชียงใหม่ ครั้งที่ 2 สะท้อนปัญหาฝุ่นควันภาคเหนือจากระบบอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
กลุ่มสม-ดุล เชียงใหม่ สภาลมหายใจเชียงใหม่ กรีนพีซ ประเทศไทย และเครือข่ายภาคประชาสังคม ร่วมจัดงานเทศกาลเพื่อลมหายใจเชียงใหม่ครั้งที่ 2 (Eat Healthy, Breathe Happily) สะท้อนปัญหาฝุ่นควันภาคเหนือที่มีสาเหตุมาจากระบบอาหารอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ แลกเปลี่ยนมุมมองด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ส่งผลกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพของประชาชน
-
จักรวาลอาหารไทยใน “ทาร์ตเมี่ยงคำใบทองหลาง” กับ “ข้าวทิพย์” มาสเตอร์เชฟ
วันนี้เราชวนข้าวทิพย์มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันในบรรยากาศสบาย ๆ ทั้งในเรื่องที่มาที่ไปของความรักในการทำอาหาร ความสนใจวัตถุดิบท้องถิ่นของไทย การเข้าถึงอาหารของคนเมือง ไปจนถึงความสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อม
-
ฝุ่นควันภาคเหนือ : ปัญหาเชิงโครงสร้างเบื้องหลังวาทกรรมคนเผาคือคนผิด
เมื่อฤดูฝุ่นควันมาถึง สิ่งที่มักตามมาด้วยคือวาทกรรมคนเผาคือคนผิด และกฎหมายห้ามเผาของรัฐ ว่าแต่ทำไมเกษตรกรต้องปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เมื่อรู้ทั้งรู้ว่าเป็นตัวการสำคัญก่อให้เกิดฝุ่นควัน แท้จริงแล้วมีเบื้องลึกเบื้องหลักอะไรซุกอยู่ใต้พรมหรือไม่
-
เติบโตบนความสูญเสีย : ผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม 20 ปีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดตัวรายงาน “เติบโตบนความสูญเสีย : ผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม 20 ปีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และเกษตรพันธสัญญาในภาคเหนือของไทย”[1] ในงาน“อาเซียนร่วมใจ: ฝุ่นเขา ฝุ่นเรา ฝุ่นใคร?” (ASEAN: One Vision, Shared Pollution) เนื่องในสัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน(MAEW - Mekong-ASEAN Environmental Week) ที่ห้อง SEA Junction ชั้น 4 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
-
เติบโตบนความสูญเสีย : ผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม 20 ปีข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเกษตรพันธสัญญาในเขตภาคเหนือของไทย
การขยายตัวของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ความต้องการผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพิ่มสูงขึ้น ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่ปรากฎชัดตามมาคือ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน