All articles
-
แนะนำ 9 หนังสิ่งแวดล้อมสำหรับ Watch From Home
เราอยากชวนมาดูหนังเพื่อเปิดมุมมองที่หลากหลายไปกับภาพยนตร์และสารคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่สามารถดูได้จากที่บ้านคุณ ที่ชวนให้เราตั้งคำถามต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน
-
นโยบาย Net Zero Emission ของไทยจะเป็นเพียงหน้าไหว้หลังหลอกหรือไม่?
หนึ่งในไฮไลท์จากมติที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในวันที่ 4 สิงหาคม 2564 ที่ผ่านมา คือ การเห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติ (National Energy Plan) ซึ่งได้กำหนดแนวนโยบายภาคพลังงาน โดยมีเป้าหมายสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถมุ่งสู่พลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์) สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายใน ค.ศ. 2065-2070 (พ.ศ.2608-2613)
-
โตเกียวโอลิมปิกบอกอะไรเราบ้างเกี่ยวกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เชื่อว่าหลายๆคนคงได้ดูโตเกียวโอลิมปิก แต่ดูเหมือนว่าเหรียญทองที่ญี่ปุ่นอยากเอาชนะในการจัดการแข่งขันนี้ คือ ‘สภาพอากาศที่ร้อนชื้นที่สุดในประวัติศาสตร์โอลิมปิก’ การวิเคราะห์ล่าสุดจากกรีซพีซเอเชียตะวันออกพบว่ามีอุณหภูมิสูงขึ้นในโตเกียว ปักกิ่ง และโซล รวมถึงอีกกว่าสิบเมืองทั่วเอเชีย นี่คือ #วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
รายงาน IPCC เตือนให้รัฐบาลทั่วโลกลงมือทำทันทีเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนที่จะสายเกินไป
รายงานคณะทำงานที่ 1 เรื่อง “พื้นฐานวิทยาศาสตร์กายภาพ(the Physical Science Basis)” อันเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินครั้งที่ 6 (the Sixth Assessment Report) ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) จัดทำโดย นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลก สรุปถึงความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดว่า เกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก และเป็นคำเตือนที่ชัดเจนว่าเรากำลังจะมุ่งหน้าไป ณ ที่ใด หากไม่ลงมือทำอย่างเร่งด่วน
-
สรุปสถานการณ์สภาพภูมิอากาศ “เรากำลังมาถึงจุดวิกฤต”
ในครึ่งปีแรกของปี 2564 นอกจากสถานการณ์โรคระบาดที่ย่ำแย่ สภาพอากาศที่รุนแรงสุดขั้วซึ่งเป็นผลจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศก็ทวีความรุนแรงยิ่งกว่าปีก่อนๆที่ผ่านมา
-
ติดตามวิกฤตสภาพภูมิอากาศจากรายงาน IPCC
รายงานที่น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับมากที่สุดของ IPCC นี้ คือสารที่ส่งตรงจากนักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลกถึงรัฐบาลประเทศต่างๆ ในเรื่องความเข้าใจล่าสุดว่าเกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก
-
กรีนพีซเปิดแผนที่เสี่ยงภัยโลกร้อนในเมืองใหญ่ของจีนที่เพิ่มขึ้นจากเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
รายงานฉบับใหม่จากกรีนพีซ เอเชียตะวันออกวิเคราะห์ถึงความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากระดับอุณหภูมิที่สูงขึ้นสุดขั้วและปรากฎการณ์ฝนตกหนักในเขตปริมณฑลรอบกรุงปักกิ่ง
-
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นจริงหรือ?
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นได้อย่างไร เพิ่มขึ้นแล้วทำไม และเราทำอะไรได้บ้าง?
-
ยูเนสโกเตือน ความล้มเหลวของนโยบายสภาพภูมิอากาศของรัฐบาลออสเตรเลีย จะทำให้เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ กลายเป็น “มรดกโลกที่ตกอยู่ในอันตราย”
การสนับสนุนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลของรัฐบาลออสเตรเลีย รวมถึงการขาดนโยบายสภาพภูมิอากาศที่น่าเชื่อถือ ทำให้ล่าสุด องค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้ออกมาเตือนว่า เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ มรดกทางนิเวศวิทยาที่สำคัญของโลกจะตกอยู่ในอันตราย
-
ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่คาดการณ์จากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลแบบสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียภายในปี พ.ศ.2573 : ข้อค้นพบหลัก
เมืองชายฝั่งทั่วเอเชียกำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้น คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(IPCC) เตือนว่า การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ระหว่าง 0.43-0.84 เมตรภายในปี พ.ศ.2643 (IPCC, 2019) ขณะเดียวกัน ตลอดศตวรรษที่ 21 พายุมีความเร็วลมรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายมากขึ้น คลื่นพายุซัดฝั่งที่สูงขึ้น และปริมาณน้ำฝนที่มีสภาวะสุดขีดมากกว่าในอดีต (Knutson et al., 2020)