All articles
-
Seaspiracy จริงหรือที่มหาสมุทรจะล่มสลายและทางออกคือ หยุดกินปลา ?
เพื่อให้เห็นภาพกระแสของสารคดีเรื่อง Seaspiracy ที่ชัดเจนมากขึ้น เราจะพาไปสำรวจความคิดเห็นและปฏิกิริยาของผู้คนในแวดวงต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงย้อนกลับมาดูสถานการณ์ด้านทะเลและแรงงานของไทยควบคู่กัน
-
การตัดสินใจปล่อยน้ำปนเปื้อนรังสีจากฟุกุชิมะของรัฐบาลญี่ปุ่นคือการละเลยต่อสิทธิมนุษยชนและกฎหมายทางทะเลระหว่างประเทศ
การตัดสินใจของคณะรัฐมนตรีนับเป็นความล้มเหลวในการปกป้องสิ่งแวดล้อม และยังละเลยการคัดค้านของสาธารณชนในวงกว้างและความกังวลของชาวฟุกุชิมะในพื้นที่ รวมถึงประชาชนญี่ปุ่นในพื้นที่ใกล้เคียง กรีนพีซยืนหยัดร่วมกับชาวฟุกุชิมะรวมถึงชุมชนชาวประมงในความพยายามที่จะหยุดยั้งแผนการเหล่านี้
-
‘เหตุผลที่ผมเลิกกลัวฉลาม’ เรื่องราวของ ฉลาม ผ่านมุมมองนักดำน้ำ
ผมอดไม่ได้ที่จะนึกถึงนักล่าแห่งท้องทะเลเหล่านี้เวลาลงเล่นทะเล และผมมั่นใจว่าไม่ได้มีแต่ผมคนเดียวที่รู้สึกวิตกกังวลเมื่อต้องอยู่ในน้ำระดับที่ไม่สามารถยืนหรือเดินได้ ผมกลัวฉลามมาตั้งแต่เด็ก แต่เมื่อผมโตขึ้นอายุประมาณยี่สิบต้นๆ ความกลัวเหล่านี้หายไปเมื่อผมเริ่มดำน้ำลึก
-
#บอกห้างหยุดขายสัตว์น้ำวัยอ่อน: เสียงจากชาวประมงที่หวังให้ทะเลกลับมาอุดมสมบูรณ์
เมื่อปลาใหญ่ถูกจับ ปลาเล็กก็ถูกจับ แล้วเหลือปลาที่ไหนสืบพันธ์ุ? ปัจจุบันสัตว์น้ำวัยอ่อนถูกจับจำนวนมาก ซึ่งไม่เพียงส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหารในทะเล แต่รวมไปถึงชาวประมงที่ทำการประมงอย่างยั่งยืนและผู้บริโภคด้วย
-
เหตุผลที่เราไม่ควรปล่อยให้บริษัทอุตสาหกรรม “ครองมหาสมุทร”
ขณะที่ 93% ของสัตว์ทะเลกำลังเผชิญหน้ากับประมงเกินขนาด เพียง 1% ของมหาสมุทรทั่วโลกได้รับการปกป้องจากอุตสาหกรรมประมงทำลายล้าง ทำให้ปลาสืบพันธ์ุทดแทนจำนวนที่โดนจับไปไม่ทัน
-
เมื่อผู้หญิง call out เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบันมีกลุ่มผู้หญิงลุกขึ้นมาแสดงพลังในการปกป้องสิ่งแวดล้อมอยู่ทุกที่ๆ รวมทั้งในประเทศไทย ในโอกาสวัน International Women Day 2021 เราอยากพาทุกคนมารู้จักกับผู้หญิงในไทยที่ลุกขึ้นมาทำงานและสร้างความท้าทายเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมในหลายรูปแบบด้วยกันค่ะ
-
วาฬปิ๊กมี่ตัวน้อยในมหาสมุทรอินเดีย
เมื่อพูดถึงวาฬ เรามักจะนึกถึงวาฬที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งขนาดตัวของมันมีความยาวเทียบเท่ากับรถบัส ฝูงช้างหรือไดโนเสาร์ เรื่องราวที่เราจะเสนอต่อจากนี้อาจเซอร์ไพรซ์คุณเพราะเป็นเรื่องที่เราอาจคาดไม่ถึงเลยนั่นคือ วาฬปิ๊กมี่น้ำเงินที่อาศัยอยูในมหาสมุทรอินเดีย
-
รู้จักทูน่ากระป๋องในมิติที่มากกว่าราคา ผ่านเรื่องเล่าที่คุณช่วยเปลี่ยนให้ดีขึ้นได้บนแพลตฟอร์มออนไลน์ล่าสุดจากกรีนพีซ
กรุงเทพฯ, 5 มีนาคม 2564— เปิดกระป๋องแบรนด์ทูน่าไทย เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ล่าสุดจากกรีนพีซ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริโภคเข้าใจเรื่องราวด้านสิ่งแวดล้อม นโยบายแรงงาน และความโปร่งใสของแบรนด์ทูน่าไทย ผ่านการเล่าเรื่องด้วยข้อมูลและดีไซน์ (data and virtual storytelling) เพื่อส่งเสียงและความคิดเห็นไปยังผู้ผลิต
-
9 เรื่องเกี่ยวกับเพนกวินที่คุณอาจยังไม่รู้
กรีนพีซได้รวบรวมมุมน่ารักๆ ของเพนกวินที่ขึ้นชื่อเรื่องความเก่งกาจในการดำน้ำและว่ายน้ำ รวมทั้งสิ่งสำคัญที่ควรรู้เกี่ยวกับเพนกวิน
-
วิกฤตใต้ทะเลลึก : ความลับของอุตสาหกรรมเหมืองใต้ทะเล
ใต้ท้องทะเลลึกเป็นโลกของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะตัวแฝงเร้นอยู่ ซึ่งเราก็เพิ่งจะเริ่มเรียนรู้และทำความเข้าใจ ใต้มหาสมุทรนั้นเต็มไปด้วยแนวปะการังอันเก่าแก่ ภูเขาใต้ทะเล และสัตว์ทะเลที่อาศัยอยู่มาเป็นเวลาหลายร้อยปี ใต้ท้องทะเลลึกเป็นสถานที่เร้นลับที่ซุกซ่อนร่องรอยของจุดกำเนิดสิ่งมีชีวิตให้เราค้นหา