All articles
-
เหตุผลที่กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกออกมาตรการลดการผลิตพลาสติกอย่างน้อย 75% ภายในปี 2583
นี่คือโอกาสสำคัญของคนรุ่นเราที่จะปกป้องสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อมจากมลพิษพลาสติกและวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 4 : อนาคตของอุตสาหกรรม Fast Fashion จะเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้นได้หรือไม่?
บริษัทฟาสต์แฟชั่นกำลังกลายเป็นกลุ่มที่เชี่ยวชาญในการเสนอทางออกในการแก้ปัญหาที่ล้มเหลว ซึ่งในทางกลับกัน ทางออกเหล่านี้เป็นการประชาสัมพันธ์เพื่อภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทและเป็นความพยายามให้เข้ากับกระแสสังคมตอนนี้
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 3 : อุตสาหกรรมแฟชั่นยักษ์ใหญ่ และการแสวงหาผลกำไรเหนือสิทธิมนุษยชน
แม้ว่าเหตุการณ์อาคาร Rana Plaza ถล่ม จะล่วงเลยมากว่า 10 ปีแล้ว แต่ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในอุตสาหกรรมแฟชั่นได้รับการแก้ไขบ้างหรือไม่?
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมที่เลือนลาง ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 11 กันยายน 2566
จากการเลือกตั้ง 2566 มาสู่การจัดตั้งรัฐบาล กรีนพีซ ประเทศไทยติดตามตรวจสอบนโยบายสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลที่เข้ามาบริหารประเทศ เริ่มต้นจากการทำ check list ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภา
-
เราเรียนรู้อะไรจากการทำความสะอาดชายฝั่ง และการสำรวจแบรนด์จากขยะ (Brand Audit) และมลพิษพลาสติกบ้าง
ปัจจุบันวิกฤตมลพิษพลาสติกเป็นปัญหาใหญ่ที่เราไม่สามารถมองข้ามได้ เราเห็นขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งถูกทิ้งอยู่เต็มไปหมดหลัง ดังนั้นในวันที่ 16 กันยายน ซึ่งเป็นวันทำความสะอาดชายฝั่งสากล (International Coastal Clean-Up Day) เราจึงอยากย้ำเตือนถึงปัญหาจากขยะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งที่เป็นปัญหาระดับร้ายแรง และปัญหานี้จะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนและทั่วโลกต้องร่วมมือกันด้วย
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 2 : ขยะสิ่งทอและเสื้อผ้าที่รอกำจัดด้วยการเผา
บริษัทเหล่านี้มีสต็อกเสื้อผ้าที่ขายไม่ออกอยู่มหาศาล เนื่องจากการผลิตในปริมาณมากทำให้ต้นทุนการผลิตถูกลง และวิธีระบายขยะเสื้อผ้าเหล่านี้ก็คือการส่งไปยังเตาเผา แต่บริษัทยังคงเก็บวิธีการกำจัดเสื้อผ้าแบบนี้ไว้เป็นความลับ โดยไม่ระบุว่ามีขยะเสื้อผ้าที่ถูกส่งไปยังเตาเผาในปริมาณเท่าไหร่
-
สำรวจเหตุผลที่ทำไม Fast Fashion กลายเป็นตัวเร่งให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศรุนแรงขึ้น ตอนที่ 1 : ปัญหาขยะพลาสติกที่เกิดจากอุตสาหกรรมแฟชั่น
เพราะพลาสติกถูกผลิตขึ้นโดยใช้น้ำมันและก๊าซ และใยโพลีเอสเตอร์ก็ทำมาจากพลาสติกผสานเส้นใยกลายเป็นเสื้อผ้า คาดว่าปัจจุบันมีเสื้อผ้ามากกว่าครึ่งจากปริมาณเสื้อผ้าที่ถูกผลิตขึ้นที่ใช้วัสดุสังเคราะห์เช่น ใยโพลีเอสเตอร์ เป็นต้น ซึ่งวัสดุเหล่านี้มักไม่สามารถย่อยสลายหรือไม่สามารถรีไซเคิลได้ และสุดท้ายก็กลายเป็นปัญหาขยะพลาสติกที่มีปริมาณมหาศาล
-
เปิดโปงการฟอกเขียวในอุตสาหกรรม Fast Fashion : รวมกลยุทธ์ที่แบรนด์ใช้ปิดบังต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2557 การผลิตเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว จนถึงจำนวนการผลิตราว 100 พันล้านตัว ซึ่งเกินจุดที่ไม่ยั่งยืนของการผลิตในแต่ละปี
-
เรื่องราวของ กรีนฮาร์ท ภูเก็ต กลุ่มคนที่อยากเห็นภูเก็ตเป็นเมืองที่สะอาดและปลอดปัญหาขยะพลาสติก
เบ้นท์ ซันโฟลว (Benz Sunflo) คือหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มกรีนฮาร์ท ภูเก็ต ที่อยากให้ระบบนิเวศทางทะเลของภูเก็ตยังคงสวยงาม เบ้นท์ได้แรงบันดาลใจจากมาจากกรีนพีซ เพราะรู้จักกรีนพีซมาตั้งแต่เด็กผ่านรายการ America Funniest video
-
เพราะอยากให้โลกปลอดจากผลกระทบของขยะพลาสติก คุยกับพิชามญชุ์ รักรอด นักรณรงค์ กรีนพีซ ประเทศไทย กับเหตุผลที่เราต้องลดใช้พลาสติก
“เราเห็นรูปปลาอยู่ในกระป๋องอะลูมิเนียมแล้วยังรู้สึกว่าอึดอัดเลย คิดว่าถ้าเป็นตัวเองต้องอยู่ในที่แคบแบบนั้นเราคงอยู่ไม่ได้และกระป๋องนั้นก็ไม่ใช่บ้านที่แท้จริง แต่เป็นขยะจากใครไม่รู้ที่สุดท้ายมาลงเอยตรงที่เราอาศัยอยู่”