All articles
-
ต่อกรการค้าขยะพลาสติกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อประเทศสมาชิกอาเซียน
การที่ผู้นำประชาคมอาเซียน 10 ประเทศเตรียมมาพบกันที่กรุงเทพฯ ในเดือนมิถุนายน 2562 นี้ นับเป็นเรื่องน่าประหลาดใจที่ไม่มีประเด็นการนำเข้าขยะพลาสติกบรรจุอยู่ในวาระการประชุมที่จะเกิดขึ้น
-
ข้อมูลการค้าขยะพลาสติกโลก (Global Plastics Waste Trade) ปี พ.ศ.2559-2561 และผลกระทบจากนโยบายห้ามนำเข้าของเสียของจีน
นโยบายของจีนในปี พ.ศ.2561 ที่ห้ามนำเข้าพลาสติกรีไซเคิลผสมทำให้ระบบรีไซเคิลทั่วโลกต้องสะเทือนโดยเผยให้เห็นลักษณะที่เป็นอันตรายและสิ้นเปลืองของระบบการค้าขยะรีไซเคิล ผลสะเทือนนี้เกิดขึ้นทั้งโลก และในปัจจุบันพลาสติกยังไม่มีสถานที่ใดที่เหมาะสมที่จะไป
-
วิกฤตแห่งความสะดวกสบาย
บริษัทผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำหน่ายเร็ว (Fast-moving consumer goods: FMCG) ทั้งหลายอยู่เบื้องหลังแบบจำลองเศรษฐกิจแบบกินทิ้งกินขว้างที่ก่อวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์ (Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2561
Break Free From Plastic ได้ยกระดับกิจกรรมทำความสะอาด (clean up) พื้นที่และชายฝั่งทะเลที่ดำเนินการอย่างเป็นประจำทั่วโลกขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง โดยการทำ brand audit ซึ่งมุ่งเน้นตรวจสอบแบรนด์สินค้าต่างๆ ที่มีส่วนรับผิดชอบต่อมลพิษพลาสติกที่พบในสิ่งแวดล้อม
-
ไม่อาจกลับคืนเป็นอย่างเดิม : หายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
กรณีศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการรับรังสีนิวเคลียร์ตลอดช่วงชีวิตในพื้นที่อิตาเตะ จังหวัดฟุกุชิมะ
-
Infographic ช่วงชีวิตหนึ่งของคุณสร้างขยะได้มากแค่ไหน?
ขยะเหล่านี้ใช้ระยะเวลาย่อยสลายหลายร้อยปี บางส่วนถูกกำจัดโดยการเผา ฝังกลบ บางส่วนสิ้นสุดที่ทะเลและมหาสมุทร ส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเล ทางที่ดี เราหยุดใช้ตั้งแต่ต้นทางกันดีกว่า
-
Let’s say NO to single-use plastic
พลาสติกเป็นวัสดุที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในหลายด้าน เพราะมีคุณสมบัติพิเศษที่เรานำมาใช้งานอย่างหลากหลาย จริงอยู่ที่เราไม่สามารถปฏิเสธการใช้พลาสติกทุกประเภทได้ แต่เราสามารถปฏิเสธพลาสติกบางประเภทที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง เพราะพลาสติกประเภทนี้มีอายุการใช้งานที่แสนสั้น แต่กลับใช้เวลาย่อยสลายแสนนาน
-
ไมโครบีดส์ คืออะไร
ไมโครบีดส์ (Microbeads) หรือ เม็ดบีดส์ คือชิ้นส่วนเล็ก ๆ ของพลาสติกในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง ยาสีฟัน น้ำยาทำความสะอาด และอื่น ๆ อีกมากมาย
-
Nuclear Scars มรดกจากหายนะภัยเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
เมื่อหายนะภัยนิวเคลียร์เกิดขึ้นแล้ว เป็นเรื่องยากแสนเข็ญในการจัดการกับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี รายงานของกรีนพีซระบุว่าการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนไม่สามารถทำได้สมบูรณ์
-
Radiation Reloaded ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิหลังจาก 5 ปีผ่านไป