-
ภาพลวงตาสีทอง สัญญาหลอกลวงของข้าว “สีทอง”
แม้ว่าข้าวทองจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมากว่า 20 ปี แต่ก็ยังไม่มีการนำไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้เนื่องมาจากความซับซ้อนของพันธุวิศวกรรม ไม่มีใครรู้แน่ชัดว่าพืชผลิตสารเบตาแคโรทีนได้อย่างไร
-
กอดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การกอดนับเป็นสัมผัสแรกที่มนุษย์เราได้รับ การกอดเป็นการกระทำเพื่อแสดงออกถึงความรักและความห่วงใยที่สามารถใช้ทุกสถานการณ์ แต่การโอบกอดที่สำคัญอีกโอบกอดหนึ่งที่ใกล้ตัวมากที่สุด คือ การโอบกอดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ต้นทุนที่แท้จริงของถ่านหิน
ในปัจจุบันถ่านหินเกือบร้อยละ 40 ถูกนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลก อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของถ่านหินเป็นสิ่งที่ให้โทษอย่างร้ายแรงที่สุดต่อโลก เพราะทำลายสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถสร้างทดแทนได้ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์และสังคมต่างๆทั่วโลก
-
ปลูกผักกินเองกับเจ้าชายผัก ปลูกความสุขในบ้านด้วยมือของเรา
การปลูกผักกินเอง คือแนวทางในการพึ่งพาตนเอง สร้างความมั่นคงทางอาหารด้วยวิถีเกษตรอินทรีย์
-
20 ปีแห่งความล้มเหลวของจีเอ็มโอ สารพันเหตุผลที่เราต้องปกป้องพืชพรรณอาหารของไทย
20 ปีมาแล้วที่เราได้ยินคำสัญญาอันสวยหรูจากอุตสาหกรรมจีเอ็มโอ ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตร การลดปริมาณการใช้สารเคมี การแก้ปัญหาความอดอยาก หรือเป็นทางออกให้กับการเกษตร แต่ 20 ปีที่ผ่านมาได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นเพียงลมปาก
-
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) จากโรงไฟฟ้าถ่านหินคือภัยคุกคามสุขภาวะของคนไทย
ซูม กรณีการวิพากษ์รายงาน “ต้นทุนชีวิต: โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย” ในประเด็นผลกระทบสุขภาพจากถ่านหินผ่านสื่อต่างๆ และการที่ กฟผ. ยืนยันว่าโรงไฟฟ้าถ่านหิน กฟผ. มีเทคโนโลยีทันสมัยและการควบคุมมลภาวะที่ดีกว่ามาตรฐานกฎหมาย รวมทั้งผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศทุกตัวอยู่ในเกณฑ์ดี จึงไม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอย่างแน่นอน กฟผ. ได้อ้างถึงเรื่องฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน แบบหลบเลี่ยงประเด็นโดยบอกว่า "ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน(PM2.5) ซึ่งรายงานของ กรีนพีซระบุว่า หากมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่และเทพาจะทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายข้ามจังหวัดหรือข้ามประเทศนั้น จากการที่โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินของ กฟผ. ทั้ง 2 โครงการมีมาตรการควบคุม PM10 และ PM2.5 จากแหล่งผลิตตามมาตรฐานสากลโดยได้กำหนดไว้ในรายงาน EHIA ดังกล่าวมาแล้ว ประกอบกับการตรวจวัดค่าจริงในบรรยากาศรอบโรงไฟฟ้าถ่านหินในปัจจุบันของ กฟผ. จึงมั่นใจได้ว่า โครงการทั้ง 2 จะไม่ทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายตามแบบจำลองของกรีนพีซ...”
-
มัจจุราชในความเงียบ
เหตุผลที่ทำให้ประเทศในทวีปยุโรปนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนพลังงานถ่านหิน ข้อมูลโดยสรุป โรงไฟฟ้าถ่านหินคือแหล่งมลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศอันเลวร้ายที่สุดต่อทวีปยุโรปและทั่วโลก กรดแก๊ส เขม่าควันไฟ และฝุ่นละอองจากอุตสาหกรรมถ่านหินขนาดใหญ่กลายเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศที่สามารถผ่านเข้าไปสู่ปอดและกระแสเลือดของมนุษย์ได้โดยการหายใจ ภาวะมลพิษดังกล่าวเป็นภัยต่อสุขภาพของทารก เด็ก และผู้ใหญ่ ที่เป็นสาเหตุของโรคร้ายเช่น โรคหัวใจล้มเหลว โรคมะเร็งปอด อีกทั้งเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคหอบหืด และ โรคทางเดินหายใจอื่นๆ เป็นต้น โลหะหนักจำนวนหลายหมื่นกิโลกรัม เช่น ปรอท ตะกั่ว สารหนู และแคดเมียม ที่ถูกปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ก่อให้เกิดโรคมะเร็งและเป็นอันตรายต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็ก แม้ว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพมากมาย แต่รัฐบาลของแต่ละประเทศในยุโรปยังคงไม่สามารถล้มเลิกการใช้โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินนี้ได้ การใช้ถ่านหินยังคงเพิ่มขึ้นในยุโรปอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ.…
-
20 ปีแห่งความล้มเหลวของจีเอ็มโอ
20 ปีมาแล้วที่จีเอ็มโอถูกนำมาใช้ในเชิงพาณิชย์พร้อมการกล่าวอ้างสรรพคุณมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตร การลดปริมาณการใช้สารเคมี การแก้ปัญหาความอดอยาก หรือเป็นทางออกให้กับการเกษตร แต่ 20 ปีที่ผ่านมาได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นเพียงลมปาก และในรายงานนี้คือการพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างทั้งหมด
-
เขตคุ้มครองธรรมชาติแห่งอาร์กติก
ขณะนี้ น้ำแข็งในทะเลอาร์กติกกำลังละลาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ทำให้ปริมาณน้ำแข็งในทะเลช่วงฤดูร้อนลดลงไปอย่างน้อยร้อยละ 75 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์
-
เกษตรกรรมเชิงนิเวศ: หลัก 7 ประการของระบบอาหารเพื่อมนุษยชาติ
ระบบเกษตรกรรมของเราทุกวันนี้พึ่งพาการใช้สารเคมีปริมาณมหาศาลพอๆกับการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล อีกทั้งยังถูกครอบงำโดยบริษัทขนาดยักษ์เพียงไม่กี่รายที่รวมตัวอยู่แค่บางภูมิภาคของโลก