• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • เกี่ยวกับการบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
  • ร่วมกับเรา
  • เกี่ยวกับการบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • เกี่ยวกับการบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • บทความ
    ระบบนิเวศ, คนและสังคม

    จุดเริ่มต้นของกรีนพีซในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    ในปี 2543 กรีนพีซตั้งสำนักงานที่กรุงเทพฯ และกรุงมะนิลา (ฟิลิปปินส์) ในนาม ‘กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Greenpeace Southeast Asia - GPSEA) ขณะนั้น เป็นกลุ่มคนเล็กๆ ที่ร่วมกันสร้างอนาคตที่ปลอดมลพิษในภูมิภาคนี้

    Greenpeace •
    22 September 2021
    3 min read
  • Clean Air Now Photo Op in Jakarta. © Jurnasyanto Sukarno / Greenpeace
    บทความ
    มลพิษทางอากาศ

    ‘อากาศสะอาดคือสิทธิของประชาชน’ ถอดบทเรียนประชาชนอินโดนีเซียชนะคดีทวงคืนอากาศบริสุทธิ์จากรัฐ

    ย้อนกลับไปเดือนกรกฎาคม ปี 2562 ตัวแทนภาคประชาชนจากหลากหลายอาชีพทั้งวินมอเตอร์ไซค์ นักธุรกิจ ข้าราชการและนักกิจกรรมรวมกว่า 32 คนได้ยื่นฟ้องรัฐบาลว่าด้วยมลพิษทางอากาศเพื่อให้ภาครัฐขยับและจัดการกับปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะในกรุงจาการ์ต้าที่มีคนอาศัยอยู่กว่า 10 ล้านคน

    วริษา สี่หิรัญวงศ์ •
    18 September 2021
    5 min read
  • บทความ
    ระบบนิเวศ, คนและสังคม

    50 ปี กรีนพีซ การเดินทางที่เป็นจุดเริ่มต้น

    ย้อนดูไทม์ไลน์เหตุการณ์สำคัญที่ผ่านมาตลอด 50 ปีของกรีนพีซ จากการเดินทางแรกที่เป็นจุดเริ่มต้นขององค์กร สู่ชัยชนะในการรณรงค์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่น่าจดจำมากมาย

    Greenpeace International •
    16 September 2021
    20 min read
  • กรีนพีซ
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    ผลกระทบจากพลาสติก, EPR, หลักจัดการขยะ7R

    กรีนพีซเรียกร้องกรมควบคุมมลพิษให้ประเมินผลและทบทวน Roadmap การจัดการขยะพลาสติก ระบุ Roadmap ไร้ทิศทางและสวนทางกับเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ

    บทวิพากษ์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613

    Greenpeace Thailand •
    10 September 2021
    3 min read
  • กรีนพีซ
    รายงาน
    พลาสติก, EPR

    บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)

    การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613

    Greenpeace Thailand •
    9 September 2021
  • บทความ
    คนและสังคม, ผลกระทบจากพลาสติก, ระบบนิเวศ

    ปัว เล เปง: ด่านหน้าผู้ปกป้องมาเลเซียจากวิกฤตมลพิษพลาสติก

    ปัว เล เปง (Pua Lay Peng)เป็นแกนนำเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า Kuala Langat Environmental Action Group ซึ่งออกมาเรียกร้องทางโลกออนไลน์ถึงปัญหาการนำเข้าขยะพลาสติกในเมืองเจนจารอม ของรัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย

    Heng Kiah Chun •
    9 September 2021
    4 min read
  • บทความ
    อุตสาหกรรมประมง, ระบบนิเวศ

    จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าทะเลไม่มีสัตว์น้ำวัยอ่อน?

    “เคยไปยืนชายทะเลไหม มองไปที่ทะเลกว้างใหญ่ไพศาลเลยใช่ไหม แล้วมันจะจับปลาที่มีในนั้นได้หมดเหรอ” อาจารย์มุกถามขึ้นระหว่างอธิบายถึงความเชื่อที่ว่า “ปลาทะเลไทย กินเท่าไรก็ไม่หมด” 

    Songwut Jullanan •
    9 September 2021
    6 min read
  • Remnants Of Hurricane Ida Move Through Northeast Causing Widespread Flooding. David Dee Delgado / Greenpeace
    บทความ
    เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    เฮอริเคนไอดาในนิวยอร์ก สัญญาณเตือน วิกฤตสภาพภูมิอากาศ เข้าใกล้เรามากขึ้น

    หลังเฮอริเคนไอด้าพักถล่มมหานครนิวยอร์กแสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากเฮอริเคนต่อระบบสาธารณูปโภคและการคมนาคม อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นอีกว่าโลกของเรายังไม่พร้อมที่จะรับมือกับภัยพิบัติที่จะเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้นจากสภาพอากาศแปรปรวนสุดขั้วซึ่งมีสาเหตุจากการนำเชื้อเพลิงฟอสซิลมาใช้ เป็นตัวการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

    Supang Chatuchinda แปลและเรียบเรียง •
    8 September 2021
    5 min read
  • "Right to Clean Air" Activity in Bangkok. © Baramee  Temboonkiat / Greenpeace
    บทความ
    มลพิษทางอากาศ

    ในวันอากาศสะอาดสากล สิทธิในการหายใจของคนไทยยังคงถูกละเมิด

    วันนี้ 7 กันยายน 2564 เป็นปีที่สองที่ประชาคมนานาชาติร่วมรณรงค์เพื่ออากาศดีทั่วโลกโดยใช้หัวข้อว่า “อากาศสะอาด โลกแข็งแรง #HealthyAirHealthyPlanet ต่อไปนี้คือสิ่งที่รัฐบาลไทยมอบให้ประชาชนในวันอากาศสะอาดสากล

    ธารา บัวคำศรี •
    7 September 2021
    7 min read
  • บทความ
    คนและสังคม, การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    การเดินขบวนไพรด์คือการประท้วง!

    กลุ่ม LGBTQIA+ มักได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศเสมอ ที่ใดที่วิกฤตสภาพภูมิอากาศทำให้เกิดภัยพิบัติ ที่นั่นการกดขี่สิทธิมนุษยชนของ LGBTQIA+ จะเพิ่มขึ้น เช่น LGBTQIA+ ที่ฟิจิถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของพายุไซโคลนที่มากขึ้น ไม่ใช่เพราะวิกฤตสภาพภูมิอากาศ สิทธิมนุษยชนและสิทธิของสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ การเดินขบวนไพรด์จึงไม่ใช่แค่งานเลี้ยงสังสรรค์ หากแต่เป็นการประท้วง!

    Diederick van den Ende •
    6 September 2021
    4 min read
Prev
1 … 63 64 65 66 67 … 151
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้