-
ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย หมิงตี้เคมิคอลต้องจ่ายเท่าไหร่ !?!
“เหตุการณ์นี้เหมือนเดจาวู ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แล้วในอนาคตก็จะเกิดอีก” ดร.สมนึก จงมีวศิณ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC Watch) เริ่มต้นการพูดคุยในเวทีเสวนา “#ผนงรจตกม: ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม EEC Watch และกรีนพีซ ประเทศไทย จากกรณีการระเบิดและอุบัติภัยเพลิงสารเคมีจากถังเก็บโพลีสไตรีน(polystyrene) และเพนเทน(pentane) ซึ่งเป็นสารเคมีตั้งต้นในการผลิตโฟม EPS (Expandable Polystyrene)ของ บริษัท หมิงตี้เคมีคอล จำกัด ในเครือ Ming…
-
ส่องงบสิ่งแวดล้อม 2565 เปรียบเทียบกับสถิติมลพิษทางสิ่งแวดล้อม
สารเคมีอันตรายปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมได้กลายมาเป็นที่ถกเถียงอีกครั้งหลังเหตุการณ์อุบัติภัยโรงงานหมิงตี้ เคมีคอล แต่งบประมาณด้านสิ่งแวดล้อมของในปี 2565 นั้นถูกหั่นลงเกือบครึ่ง จึงอาจเกิดคำถามว่างบประมาณที่มีจะเพียงพอและสมเหตุสมผลสำหรับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่กลายเป็นวิกฤตเพิ่มขึ้นทุกวันหรือเปล่า?
-
เอกสารประกอบเวทีสาธารณะออนไลน์ #ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?
เอกสารและ Presentation ประกอบจากเวทีเสวนาออนไลน์ Live Stream เวทีสาธารณะออนไลน์ “#ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?”
-
แถลงการณ์ กรีนพีซ ประเทศไทย อุบัติภัยอุตสาหกรรมในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดสมุทรปราการและความจำเป็นของกฏหมาย PRTR ในประเทศไทย
“เราขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งกับครอบครัวเจ้าหน้าที่กู้ภัยที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ และเป็นอีกครั้งหนึ่งในจำนวนนับครั้งไม่ถ้วนที่สังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนโดยรอบโรงงานอุตสาหกรรม ต้องเผชิญกับอุบัติภัยสารเคมีร้ายแรง”
-
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นจริงหรือ?
ระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้นได้อย่างไร เพิ่มขึ้นแล้วทำไม และเราทำอะไรได้บ้าง?
-
ยูเนสโกเตือน ความล้มเหลวของนโยบายสภาพภูมิอากาศของรัฐบาลออสเตรเลีย จะทำให้เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ กลายเป็น “มรดกโลกที่ตกอยู่ในอันตราย”
การสนับสนุนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลของรัฐบาลออสเตรเลีย รวมถึงการขาดนโยบายสภาพภูมิอากาศที่น่าเชื่อถือ ทำให้ล่าสุด องค์การยูเนสโก (UNESCO) ได้ออกมาเตือนว่า เกรท แบร์ริเออร์ รีฟ มรดกทางนิเวศวิทยาที่สำคัญของโลกจะตกอยู่ในอันตราย
-
เมื่ออุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันถูกเพิกถอนใบอนุญาต ชัยชนะครั้งสำคัญของการปกป้องป่าฝนเขตร้อนในอินโดนีเซีย
หลังสืบสวนพบว่าใบอนุญาตปลูกปาล์มในพื้นที่ของบริษัท 9 บริษัทหมดอายุ ซึ่งขณะที่กำลังดำเนินเรื่องการต่ออายุใบอนุญาต แต่พวกเขากลับถางผืนป่าไปก่อน
-
ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่คาดการณ์จากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลแบบสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียภายในปี พ.ศ.2573 : ข้อค้นพบหลัก
เมืองชายฝั่งทั่วเอเชียกำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้น คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(IPCC) เตือนว่า การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ระหว่าง 0.43-0.84 เมตรภายในปี พ.ศ.2643 (IPCC, 2019) ขณะเดียวกัน ตลอดศตวรรษที่ 21 พายุมีความเร็วลมรุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายมากขึ้น คลื่นพายุซัดฝั่งที่สูงขึ้น และปริมาณน้ำฝนที่มีสภาวะสุดขีดมากกว่าในอดีต (Knutson et al., 2020)
-
การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อเมืองชายฝั่งในเอเชีย
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ระบุว่า ภายในปี 2573 การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและน้ำท่วมแนวชายฝั่งในสภาวะสุดขีดใน 7 เมืองของเอเชียอาจนำไปสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจราว 724,000 ล้านเหรียญสหรัฐ
-
นักกิจกรรมกรีนพีซยื่นรายชื่อ 400,000 คน เรียกร้องรัฐบาลยุติการเข้าร่วม ความตกลง CPTPP
นักกิจกรรมและอาสาสมัครกรีนพีซถือบอลลูนที่มีรายชื่อของประชาชนกว่า 400,000 คน ไปยังหน้าทำเนียบรัฐบาล เพื่อเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรี ประยุทธ์ จันทร์โอชา ตัดสินใจยุติการเข้าร่วมความตกลง ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)