• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • เกี่ยวกับการบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
  • ร่วมกับเรา
  • เกี่ยวกับการบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์กรีนพีซ
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • เกี่ยวกับการบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Pui Matthana from Maetha Organic
    บทความ
    ปฏิวัติระบบอาหาร

    เพราะเมล็ดพันธุ์ต้องปลูกต่อได้ สนทนาฉบับเกษตรกรวิถีอินทรีย์กับ ปุ้ย มัทนา อภัยมูล

    ในขณะที่ในปีนี้เรารู้จักกับประเด็น CPTPP ที่จะเอื้อสิทธิ์ต่อบริษัทเมล็ดพันธุ์รายใหญ่และเกิดกระแสต่อต้านเป็นวงกว้างจนในปีนี้รัฐบาลยังไม่ส่งรายชื่อประเทศไทยเข้าไปพิจารณาเป็นสมาชิกในภาคีความตกลง แต่ก็ยังคงต้องติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด เรามาทำความรู้จักและเรียนรู้เรื่องราวผู้ผลิตและคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ รู้จักกับคุณปุ้ยถึงแรงบันดาลใจและความสำคัญของอาชีพการผลิตเมล็ดพันธุ์

    Supang Chatuchinda •
    14 September 2020
    12 min read
  • Global Climate Strike in Bangkok. © Tadchakorn  Kitchaiphon / Greenpeace
    บทความ
    คนและสังคม, การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    เมื่อไม่มีมิติการเมือง การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้

    ตลอดระยะเวลาที่ “วาระด้านสิ่งแวดล้อม” กลายเป็นกระแสหลัก การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมักจะถูกมองว่า เป็นเรื่องแยกขาดจากการเมืองอย่างสิ้นเชิง เสมือนว่าการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่นอกเหนือบริบทความขัดแย้ง และอาจมีสภานะภาพ ‘พิเศษ’ กว่าวาระอื่นๆ ในสังคม

    ณิชนันท์ ตัญธนาวิทย์ •
    10 September 2020
    8 min read
  • Forest Fires Haze Victims in Central Kalimantan. © Jurnasyanto Sukarno / Greenpeace
    ข่าวประชาสัมพันธ์
    ป่าไม้, ฝุ่นข้ามพรมแดน, ระบบนิเวศ

    รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซเผยถึงผลกระทบจากหมอกควันจากไฟป่าต่อสุขภาพ และความเชื่อมโยงกับความรุนแรงของ COVID-19

    รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซระบุว่ารัฐบาลจากประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่ให้ความสำคัญต่อผลกระทบด้านสุขภาพจากไฟป่าและป่าพรุของอินโดนีเซีย

    Greenpeace Thailand •
    9 September 2020
    4 min read
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    ผลกระทบจากพลาสติก, หลักจัดการขยะ7R

    แถลงการณ์ ข้อเสนอต่อมาตรการห้าม/ควบคุมการนำเข้าเศษพลาสติก และการพัฒนาระบบคัดแยกขยะในประเทศให้ได้คุณภาพดีขึ้น

    สืบเนื่องจากที่สาธารณรัฐประชาชนจีนประสบปัญหาการลักลอบนำเข้าสารอันตรายที่ปะปนมากับขยะพลาสติกและขยะอื่นหลายชนิดที่นำมาเป็นวัตถุดิบเพื่อรีไซเคิลและผลิตสิ่งของในประเทศ จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐบาลจีนจึงออกประกาศห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศเป็นการเร่งด่วน 24 รายการ (ต่อมาประกาศเพิ่มเติมรวมทั้งสิ้น 32 รายการ) มาตรการนี้ส่งผลให้ขยะพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมหาศาลไหลทะลักไปสู่ประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย

    Greenpeace Thailand •
    9 September 2020
    11 min read
  • รายงาน
    รายงานประจำปี

    วารสารข่าว ฉบับปี 2563

    สิ่งแวดล้อมโลกหลังโควิด กรีนพีซยังคงเดินหน้ารณรงค์เพื่อปกป้องและฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม เพื่ออนาคตที่น่าอยู่ ควบคู่ไปกับข้อเสนอในการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและเป็นธรรม รับรองสิทธิที่จะให้ทุก ๆ คนเข้าถึงอากาศสะอาด อาหารที่ดีปลอดภัย ปลอดสารพิษ และมีวิถีชีวิตที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ

    Greenpeace Thailand •
    9 September 2020
  • Fire Moratorium - Deforestation and Fire Monitoring in the Amazon in August, 2020. © Christian Braga / Greenpeace
    บทความ
    ป่าไม้, ระบบนิเวศ

    สิงหาคม 2563 เป็นเดือนที่เกิดไฟป่าแอมะซอนสูงสุดในรอบทศวรรษ

    เว็บไซต์ Unearthed โดย Greenpeace ได้วิเคราะห์ข้อมูลของทางการและพบว่าฤดูเผาป่าในแอมะซอนเริ่มต้นเร็วขึ้นและรุนแรงอย่างน่าเป็นห่วง โดยในเดือนสิงหาคมพบว่าสถานการณ์ไฟป่าเลวร้ายที่สุดในรอบทศวรรษ โดยเฉพาะในพื้นที่ป่าคุ้มครองที่พบไฟป่าเพิ่มขึ้นในช่วงสิบวันที่ผ่านมา

    Lucy Jordan •
    3 September 2020
    17 min read
  • Plastic Waste in Bangkok's Canals. © Chanklang  Kanthong / Greenpeace
    บทความ
    ผลกระทบจากพลาสติก

    ส่องประเด็นขยะพลาสติกล้นเมืองช่วงโควิด ที่ Road map อาจไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหา?

    จากที่เคยชินกับการออกไปทำงานที่ออฟฟิศ ก็ต้องเปลี่ยนมาทำงานที่บ้าน เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส. COVID-19 แต่แม้จะหลีกเลี่ยงการออกไปนอกบ้าน แต่เรื่องการกินการอยู่ก็ยังเป็นเรื่องสำคัญ การสั่งอาหารจากฟู้ดเดลิเวอรี่จึงตามมา

    นวพร เรืองศรี •
    2 September 2020
    10 min read
  • Solar Rooftop at Prapokklao Hospital in Thailand. © Roengchai  Kongmuang / Greenpeace
    บทความ
    พลังงานหมุนเวียน, ค่าไฟ

    ทำไม “การปฏิวัติบนหลังคาโรงพยาบาลด้วยโซลาร์เซลล์” ถึงสำคัญ? ข้อสรุปจากเสวนา คุยกันใต้หลังคาโซลาร์เซลล์ ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจหลัง Covid-19 (ตอนที่ 3)

    เสวนาคุยกันใต้หลังคาโซลาร์เซลล์ ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่ยั่งยืนและเป็นธรรม โดยกรีนพีซ ประเทศไทย เราและผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและพลังงานได้เสนอข้อเสนอการฟื้นฟูเศรษฐกิจไทยด้วยการ “ปฏิวัติพลังงาน 1 ล้านหลังคาเรือน ภายใน 3 ปี” นั่นคือการนำเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์เข้ามาติดตั้ง บนหลังคาครัวเรือน โรงเรียน และโรงพยาบาล โดยคาดหวังว่าพลังงานแสงอาทิตย์นี้จะช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจไทยไปพร้อม ๆ กับการชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่กำลังเป็นภัยคุกคามต่อเรา

    Supang Chatuchinda •
    1 September 2020
    5 min read
  • บทความ
    เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    ผู้คนนับล้านไร้บ้านเพราะภัยน้ำท่วม

    ในขณะที่ทุกคนกำลังให้ความสนใจกับการระบาดของโควิด 19 ยังมีภัยร้ายอีกหนึ่งอย่าง นั่นก็คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่ยังคงเกิดขึ้นอยู่อย่างต่อเนื่อง ถ้าคุณกำลังคาดหวังจะให้ทุกอย่างกลับไปเป็นเหมือนเดิม หลังจากโควิด 19 จบลงแล้ว คุณอาจจะต้องคิดใหม่

    Sudhanshu Malhotra •
    31 August 2020
    7 min read
  • Country Park Clean-up Activity in Hong Kong. © Greenpeace / Andrew Yuen
    บทความ
    ผลกระทบจากพลาสติก, หลักจัดการขยะ7R, EPR

    หน้ากากอนามัย 5,500 ตันไปจบลงที่ไหน

    กว่าหกเดือนแล้วที่ COVID-19 ได้สร้างหายนะให้กับโลก และหน้ากากอนามัยก็ได้กลายมาเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดครั้งประวัติกาลนี้ อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของการใช้หน้ากากอนามัยชนิดใช้แล้วทิ้งก็ได้สร้างผลกระทบที่ไม่มีใครต้องการต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน

    เจนนี เยห์ •
    27 August 2020
    6 min read
Prev
1 … 83 84 85 86 87 … 151
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้