• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Action at Coca-Cola Bottling Plant in Austria. © Mitja  Kobal / Greenpeace
    พลาสติก
    พลาสติก การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    ผู้ก่อมลพิษรายใหญ่ที่สุดของโลกเป็นสปอนเซอร์ COP27 : แถลงการณ์ของกรีนพีซ

    จอห์น โฮซีวา ผู้อำนวยการรณรงค์ด้านมหาสมุทรของกรีนพีซ สหรัฐอเมริกา กล่าวว่า "เป็นเรื่องย้อนแย้งอย่างสิ้นเชิงที่ Coca-Cola ซึ่งเป็นผู้ก่อมลพิษพลาสติกรายใหญ่ที่สุดของโลกจากการตรวจสอบแบรนด์โดยเครือข่าย #BreakFreeFromPlastic ทั่วโลกรวมทั้งในเคนยาและยูกันดา   ได้เป็นสปอนเซอร์ COP27 ในอียิปต์

    Greenpeace International •
    1 October 2022
    1 min read
  • กรีนพีซ
    พลาสติก
    Brand Audit EPR ผลกระทบจากพลาสติก

    CP ครองแชมป์ผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศที่พบขยะพลาสติกมากที่สุดจากBrand Audit  ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมากรีนพีซ ประเทศไทย เรียกร้องให้นำหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตมาใช้

    กรุงเทพฯ, 29 กันยายน 2565– กรีนพีซ ประเทศไทย มอบรางวัล Top 5 Corporate Plastic Polluters หรือผู้ก่อมลพิษพลาสติกสูงสุด 5 อันดับแรก จากการเก็บขยะและตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) ตั้งแต่ปี 2561-2565 ให้แก่แบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรก ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group), ดัชมิลล์, โอสถสภา, เสริมสุข…

    Greenpeace Thailand •
    29 September 2022
    5 min read
  • กรีนพีซ
    พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก PRTR มลพิษทางอากาศ

    แถลงการณ์ของมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ และกรีนพีซ ประเทศไทยกรณีการรั่วไหลของสารเคมีอันตรายจากโรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ของบริษัทอินโดรามา

    กรีนพีซจี้ อินโดรามาเปิดรายชื่อสารเคมีที่รั่วไหลพร้อมมาตรการเยียวยาประชาชน ย้ำภาครัฐต้องออกกฎหมายควบคุมมลพิษ PRTR

    Greenpeace Thailand •
    22 September 2022
    5 min read
  • พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก ฟาสต์แฟชั่น

    ผลกระทบของฟาสต์แฟชั่นต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในกัมพูชา 

    เปิดโปงการพบเศษเสื้อผ้าและอุปกรณ์แต่งกายจากแบรนด์ชื่อดังหลายแบรนด์ที่เตาเผาอิฐในกัมพูชา ฟาสต์แฟชั่นกำลังซ่อนปัญหาขยะสิ่งทอปริมาณมหาศาลรวมทั้งการละเมิดสิทธิพนักงานเอาไว้

    Viola Wohlgemuth •
    21 September 2022
    6 min read
  • พลาสติก
    คนและสังคม หลักจัดการขยะ7R ไลฟ์สไตล์

    ประวัติและผลงานศิลปิน : วิชชุลดา ปัณฑรานุวงศ์

    มารู้จักกับ วิชชุลดา ปัณฑรานุวงศ์ ศิลปินผู้รังสรรค์ผลงาน “Wire Puller” งานประติมากรรมที่สร้างสรรค์มาจากขยะพลาสติกที่มาจากการเก็บขยะและตรวจสอบแบรนด์ (Brand Audit) จนกลายมาเป็นงานศิลปะรูปมือจำลองของผู้ผลิตที่เป็นส่วนหนึ่งของขยะเหล่านี้ สะท้อนว่ามือของผู้ผลิตซึ่งเลือกผลิตสินค้านั้น ๆ ออกมา คือ ต้นตอของปัญหามลพิษพลาสติกอย่างแท้จริง

    Greenpeace Thailand •
    21 September 2022
    2 min read
  • กรีนพีซ
    พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก ระบบนิเวศ

    พบไมโครพลาสติกในอุจจาระและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์คุ้มครองในไต้หวัน

    รายงานผลการศึกษาที่จัดทำโดยสำนักงานกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ในกรุงไทเป ของเกาะไต้หวัน แสดงให้เห็นการตรวจพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองหลายชนิดในไต้หวัน รวมถึงหมีดำฟอร์มาซาน และกวางป่าไต้หวัน อีกทั้งยังมีการตรวจพบไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำที่รวบรวมจากถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์คุ้มครองเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าบรรดาสัตว์ที่ได้รับการคุ้มครองทั้งหลายมีการสัมผัสและกินไมโครพลาสติกเข้าไป แม้จะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของพวกมันเอง 

    Greenpeace East Asia •
    26 August 2022
    4 min read
  • พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก หลักจัดการขยะ7R EPR คนและสังคม

    ปัญหาไม่ได้อยู่ที่พลาสติก แต่อยู่ที่การจัดการ

    เริ่มจากดูคลิปของไกลบ้าน ที่มีพี่ต่อพูดวลี “ถ้าเราใช้หลอด แล้วเต่าทะเลล่ะ จะทำยังไง”

    วุฒิรักษ์ กฤษณมิตร •
    24 August 2022
    2 min read
  • ปฏิเสธ
    พลาสติก

    พบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองตามธรรมชาติในไต้หวัน

    การศึกษาของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกระบุพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของหมีดำฟอร์โมซาน (Ursus thibetanus formosanus), กวางป่าฟอร์โมซาน (Rusa unicolor swinhoii), นากคินเหมิน (Lutra lutra), มาร์เทนคอเหลือง (Martes flavigula) และแมวดาว (Prionailurus bengalensis) ทุกสายพันธุ์อยู่ในบัญชีแดงของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนบกของไต้หวัน และยังอยู่ในรายชื่อสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังพบไมโครพลาสติกในน้ำที่เก็บจากแหล่งที่อยู่อาศัยของหมีดำฟอร์โมซาน กวางป่าฟอร์โมซาน นากคินเหมินยูเรเซียน และปลาแซลมอน (Oncorhynchus masou formosanus) รวมถึงตัวอย่าง ลูกน้ำ แมลงที่เป็นอาหารหลักสำหรับฟอร์โมซาน…

    Greenpeace East Asia •
    24 August 2022
  • พลาสติก
    หลักจัดการขยะ7R ไลฟ์สไตล์ คนและสังคม

    Trash Hero เกาะสีชัง กับความพยายามในการลดการสร้างขยะของบ้านอยู่ดีมีความสุข

    เกาะที่ดูเล็กแต่ไม่เล็กอย่างสีชัง อีกทั้งยังเดินทางง่ายคงเป็นหนึ่งในสถานที่ที่ใครหลายคนเลือกที่ใช้เวลาพักผ่อนที่เกาะแห่งนี้อย่างแน่นอน และเกาะแห่งนี้มีบ้านพักที่น่ารัก อบอุ่น แถมยังเต็มไปด้วยความใส่ใจของเจ้าของ “โม่ เกศแก้ว ทองจรูญ” ผ่าน “บ้านอยู่ดีมีความสุข” 

    Pannapa Phanitjaroen •
    19 August 2022
    6 min read
  • พลาสติก
    ผลกระทบจากพลาสติก ระบบนิเวศ EPR

    มลพิษพลาสติกในทะเล ใครควรเป็นคนรับผิดชอบ?

    มหาสมุทรนับว่าเป็นปอดของโลก ครึ่งหนึ่งของอากาศที่หายใจเข้าไปมาจากที่นี่ แต่ตอนนี้มหาสมุทรของพวกเรากำลังถูกทำลายจากมลพิษพลาสติกที่มาจากพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง (single-use plastic) และเครื่องมือการทำประมง มลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นในมหาสมุทรนับว่าเป็นภัยคุกคามที่อาจส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเลรวมถึงความสามารถในการผลิตก๊าซออกซิเจนให้เราหายใจ

    Dina Ni •
    10 August 2022
    6 min read
Prev
1 … 7 8 9 10 11 … 29
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้