All articles
-
Regional Security Manager
The Regional Security Manager will lead the development and implementation of a strong security culture and systems across all Greenpeace Southeast Asia (GPSEA) offices and projects. He/she will provide expert advice, tools, and support to enable safe and smart risk-taking in our campaigning and engagement work ensuring that security is not a barrier to impact,…
-
Senior Regional Campaign Strategist (Legal and Political)
The Senior Regional Campaign Strategist (Legal and Political) leads the development of Greenpeace Southeast Asia’s (GPSEA) political and legal strategy and provides legal and political risk assessments in all stages of campaign/project development and implementation.
-
กรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน และ Decode.Plus เปิดตัวสารคดี ‘SLAPP: เมื่อสิทธิในการปกป้องสิ่งแวดล้อมตกเป็นเป้าหมาย’
กรุงเทพฯ, 25 พฤษภาคม 2568 – กรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน และ Decode.Plus จัดกิจกรรมเปิดตัวภาพยนตร์สารคดี “Voices Under Attack: SLAPP and the Fight to Protect the Environment” หรือชื่อภาษาไทย “SLAPP: เมื่อสิทธิในการปกป้องสิ่งแวดล้อมตกเป็นเป้าหมาย” ณ โรงภาพยนตร์ LIDO CONNECT…
-
แม่น้ำกกข้ามแดน ฝุ่นพิษข้ามฟ้า กรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิบูรณะนิเวศ เรียกร้องอาเซียน ยกระดับกรอบสิทธิสิ่งแวดล้อม รับมือวิกฤตมลพิษข้ามพรมแดน
กรุงเทพฯ, 24 พฤษภาคม 2568 — ก่อนการประชุมคู่ขนานของภาคประชาสังคม (ASEAN Peoples’ Forum) ที่จะจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 24-25 พฤษภาคม 2568 ภายใต้หัวข้อ “รวมทุกกลุ่มคนและความยั่งยืน(Inclusivity and Sustainability) กรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิบูรณะนิเวศ และภาคีเครือข่ายในภูมิภาค ร่วมกันเรียกร้องให้ผู้นำอาเซียนเร่งผลักดัน “กรอบสิทธิด้านสิ่งแวดล้อมอาเซียน” (ASEAN Environmental Rights…
-
สารจากนักกิจกรรมกรีนพีซหลังการไต่สวน: เราประท้วงอย่างสันติเพื่อสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่เข้มแข็ง
กรุงโซล, เกาหลีใต้,วันที่ 16 พฤษภาคม 2568 – กรีนพีซ เอเชียตะวันออก สำนักงานเกาหลี จัดงานแถลงข่าวบริเวณด้านนอกของศาลกลางกรุงโซล (the Seoul Central District Court) เพื่อเน้นย้ำถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่เข้มงวด ซึ่งรวมถึงการลดการผลิตพลาสติกด้วย กิจกรรมนี้เกิดขึ้นหลังจากศาลได้ไต่สวนคดีของนักกิจกรรมกรีนพีซจำนวน 4 คน และกัปตันเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ของกรีนพีซ ซึ่งอยู่ระหว่างการไต่สวนพิจารณาคดีในศาล ณ ประเทศเกาหลีใต้ จากกิจกรรมรณรงค์เชิงสัญลักษณ์อย่างสันติวิธี ที่เกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา
-
ท้องถิ่นภาคเหนือรวมตัว ชวนคิดข้อเสนอนโยบายในงาน People’s Policy Hub อดบ่ไหว แก้ไขสักกำเต๊อะ : คนเหนือชวนคิดนโยบายแก้ฝุ่นพิษ PM2.5
กรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกับ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLAW) มูลนิธิพัฒนาภาคเหนือ และสภาลมหายใจเชียงใหม่ พร้อมกับพี่น้องประชาชนภาคเหนือ นักวิชาการ นักกฎหมาย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ร่วมนำเสนอและแชร์ไอเดียเพื่อแก้ปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน รวบรวมเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายจากประชาชนต่อพรรคการเมืองและผู้ที่มีอำนาจในการกำหนดนโยบาย ให้แก้ไขวิกฤตนี้ในภาคเหนืออย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม
-
กลุ่มผู้ประกอบการเกาะพยามและเครือข่ายภาคประชาชนระนอง-ชุมพรจัดงาน “ดินเนอร์ ทอล์ค” ห่วงโครงการแลนด์บริดจ์กระทบธรรมชาติ-วิถีชีวิต
ระนอง, 28 เมษายน 2568 – เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2568 ที่ผ่านมากลุ่มผู้ประกอบการเกาะพยาม จังหวัดระนองร่วมกับเครือข่ายภาคประชาชนระนอง-ชุมพร จำนวนกว่า 60 คน จัดงาน “ดินเนอร์ ทอล์ค” ในหัวข้อ “ถกอนาคตเกาะพยาม ท่ามกลางคลื่นลมการเปลี่ยนแปลง” เพื่อแลกเปลี่ยนความเห็นและหาทางรับมือกับโครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกและแลนด์บริดจ์ชุมพร–ระนอง ที่อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบนิเวศ การท่องเที่ยว และวิถีชีวิตดั้งเดิม
-
ไทยอนุมัติลงนามปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพในสนธิสัญญาทะเลหลวง นับเป็นก้าวสำคัญในการปกป้องมหาสมุทรโลก
กรีนพีซ ประเทศไทยขอแสดงความยินดีที่รัฐบาลไทยมีมติอนุมัติการลงนามความตกลงภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลเกี่ยวกับการอนุรักษ์และการใช้อย่างยั่งยืนซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลในพื้นที่นอกเขตอำนาจรัฐ
-
ชุมชนเกาะขนุนรวมพลัง! ยื่นค้านโครงการสายส่งโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล หวั่นกระทบที่ดินทำกินกว่า 500 ไร่
พี่น้องที่ได้รับผลกระทบจากโครงการประกาศกำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้าโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ได้เข้ามาดำเนินการสำรวจที่ดินเบื้องต้นในพื้นที่ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
คณะลูกขุนตัดสินให้กรีนพีซชดใช้ความเสียหายกว่า 660 ล้านเหรียญสหรัฐ ในคดี SLAPP ของเอนเนอร์จี ทรานส์เฟอร์
แมนดาน, นอร์ทดาโคตา, สหรัฐอเมริกา — คณะลูกขุนจากมณฑลมอร์ตัน จำนวนเก้าคน มีคำตัดสินในคดีที่บริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ (Energy Transfer) ยื่นฟ้องต่อกรีนพีซ สหรัฐฯ (Greenpeace Inc, Greenpeace Fund) และ กรีนพีซ สากล โดยตัดสินให้องค์กรต้องชดใช้ค่าเสียหายมากกว่า 660 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ มากกว่า 22,000 ล้านบาท