All articles
-
ครบรอบหนึ่งปีสนธิสัญญาทะเลหลวง กรีนพีซจี้รัฐบาลเร่งให้สัตยาบันปกป้องมหาสมุทร
ครบรอบหนึ่งปี การบรรลุข้อตกลงสนธิสัญญาทะเลหลวงในการประชุมสหประชาชาติ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่ให้สัตยาบันสนธิสัญญาและบรรจุเป็นกฎหมายในประเทศ
-
งานวิจัยโดยกลุ่มราษฎรอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลายระบุนโยบายป่าไม้ในยุคคสช.และโมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นข้ออ้างเพื่อปิดล้อมและแย่งยึดที่ดิน – พื้นที่ป่าของชุมชน ก่อให้เกิดสภาวะความยากจนฉับพลันและเรื้อรังข้ามรุ่น
งานวิจัยโดยกลุ่มราษฎรอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลาย ระบุนโยบายป่าไม้ในยุคคสช.และโมเดลเศรษฐกิจ BCG เป็นข้ออ้างเพื่อปิดล้อมและแย่งยึดที่ดิน - พื้นที่ป่าของชุมชน ก่อให้เกิดสภาวะความยากจนฉับพลันและเรื้อรังข้ามรุ่น
-
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
-
‘MIWATARI’ ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศระดับโลก
ภาพยนตร์สั้น “MIWATARI” (มิวาตาริ) ได้รับการสนับสนุนโดยกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกให้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ประเทศไทย เทศกาลหนังสั้น โลกป่วยเราต้องเปลี่ยน ปี 2567
-
กว่า 12,000 รายชื่อ ยื่นเสนอร่างกฎหมาย PRTR ขอนายกเศรษฐา อย่าปัดตก
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ยื่นรายชื่อประชาชน 12,165 รายชื่อ เพื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ…. (ร่างกฎหมาย PRTR)
-
โลกเดือดเกินขีดจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน – ความเห็นของกรีนพีซ
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์, 8 กุมภาพันธ์ 2567 – สืบเนื่องจากข้อมูลซึ่งเผยแพร่โดยศูนย์คอเปอร์นิคัสซึ่งเป็นหน่วยงานบริการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหภาพยุโรปที่แสดงให้เห็นว่า เป็นครั้งแรกที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกมีแนวโน้มเกินขีดจำกัด 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับปีฐานในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมโดยเกิดขึ้นตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงมกราคม 2567
-
สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม จัดงานเสวนาในหัวข้อ “สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) เพื่อสื่อสารให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ประเทศต้องมีกฎหมาย PRTR ( เพราะการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิทธิของประชาชนทุกคน ตามที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ลงมติเห็นชอบและประกาศไว้เมื่อเดือนตุลาคม 2564 ว่าสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี คือสิทธิมนุษยชน
-
โรงกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล โรงงานอุตสาหกรรม : ต้นตอฝุ่นพิษที่ถูกลืม ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลภาคประชาสังคมเสนอรัฐบาลจัดการกับผู้ก่อมลพิษรายใหญ่ และผ่านกฎหมายการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและ เคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR)
ภาคประชาสังคมนำโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง(MEENet) Thai Climate Justice for All (TCJA) สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI) มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) และกรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) เปิดเวทีสาธารณะที่ SEA Junction หอศิลปะวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอข้อมูลและบทเรียนจากเมืองใหญ่ในไทยและต่างประเทศ ผลสำรวจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศขนาดใหญ่จากอุตสาหกรรมที่ถูกละเลย และข้อเสนอทางออกจากวิกฤต
-
ความเห็นของกรีนพีซต่อผลลัพธ์สุดท้ายของ COP28
ผลลัพธ์ของ COP28 ไม่ถือว่าเป็นความตกลงทางประวัติศาสตร์ที่โลกต้องการ : มีช่องโหว่และข้อบกพร่องมากมาย แต่การสร้างประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นหากประเทศภาคีเกือบ 130 ประเทศ กลุ่มธุรกิจ ผู้นําท้องถิ่น และเสียงของภาคประชาสังคม ซึ่งรวมตัวกันเพื่อสร้างพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยมีมาก่อน
-
ความเห็นของกรีนพีซต่อเนื้อหาล่าสุดของการทบทวนสถานการณ์และการดำเนินงานระดับโลก (Global Stocktake)
เนื้อหาดังกล่าวไม่ได้จับภาพโมเมนตัมทางประวัติศาสตร์ที่เราได้เห็นในช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื้อหาถูกเขียนเพื่อผลประโยชน์ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล หาใช่เพื่อผู้คน ชุมชน และสรรพชีวิตบนโลกที่ต้องการปฏิบัติอย่างเร่งด่วนที่สุด