All articles
-
เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การนำเข้าถ่านหินมายังประเทศไทยเพิ่มปริมาณขึ้นในช่วงกลาง คริสตทศวรรษที่ 1990 โดยมีปริมาณสูงกว่าการใช้ถ่านหินทั้งหมดภายในประเทศนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ในปี 2562 ไทยนำเข้าถ่านหินในปริมาณ 21.7 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 60.8 ของการใช้ถ่านหินทั้งหมด 35 ล้านตันในปีนั้น
-
EIA อมก๋อย “ความไม่ชอบธรรมที่ชอบทำ”
กลุ่มเฝ้าระวังอมก๋อยยื่นเรื่องขอทบทวนรายงาน EIA ไปที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2563 เพราะคิดว่าตัวข้อมูลในรายงานเก่า ล้าสมัยเกินไป และมีข้อบกพร่อง 4 ประการ
-
เหมืองถ่านหินและสิทธิชุมชนคนอมก๋อย
“โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย” เป็นอีกหนึ่งในหลายๆ กรณีที่ใช้การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) มาตัดสินใจอนุมัติ แต่กระบวนการจัดทำ EIA ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีความเป็น “สากล” จริงหรือไม่? นั่นเป็นสิ่งที่เรากำลังตั้งคำถาม
-
ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
สรุปประเด็นที่น่าสนใจจากไลฟ์ “พลังงานถ่านหินกับอุตสาหกรรมไทย : ตีแผ่เบื้องหลังการใช้ถ่านหินในอุตสาหกรรมไทยและ EIA กับสิทธิชุมชน” ตอน ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
-
17 ปี เจริญ วัดอักษร : อนาคตที่เราต้องการ
บทสนทนาสั้น ๆ กับกรณ์อุมา พงษ์น้อย และชัยณรงค์ วงศ์ศศิธร-กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอก และสุรีรัตน์ แต้ชูตระกูล-กลุ่มอนุรักษ์ทับสะแก สะท้อนถึง 17 ปีที่ผ่านมาและอนาคตต่อจากนี้
-
ครบรอบหนึ่งปีอุบัติการณ์น้ำมันรั่วที่รัสเซีย : ถึงเวลาหันหลังให้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือยัง?
ครบรอบหนึ่งปีเหตุการณ์น้ำมันกว่าสองหมื่นตันรั่วไหลลงสู่ดินและน้ำที่รัสเซีย เราพาย้อนดูว่าหลังจากหายนะครั้งนั้นมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง และรัสเซียมีแผนรับมือกับเหตุการณ์ลักษณะนี้อย่างไรในอนาคต
-
ศาลเนเธอร์แลนด์ตัดสินคดีโลกร้อนครั้งประวัติศาสตร์ สั่งให้เชลล์ลดการปล่อยคาร์บอน 45% ในฐานะตัวการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
กรุงเฮก, 26 พฤษภาคม 2564 - ในคำตัดสินครั้งประวัติศาสตร์ในวันนี้ ศาลเนเธอร์แลนด์ตัดสินว่าเชลล์ต้องรับผิดชอบในฐานะเป็นตัวการก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ นับเป็นครั้งแรกที่บริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิลรายใหญ่ต้องรับผิดชอบต่อการมีส่วนร่วมในวิกฤตสภาพภูมิอากาศ และได้รับคำสั่งให้ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
5 สิ่งที่อาจหายไป หากเกิดโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย
วิถีชีวิตและทรัพยากรธรรมชาติในอมก๋อยอาจหายไปพร้อม ๆ กับถ่านหินที่ถูกขุดออกไป ก่อนที่ทุกสิ่งจะหายไป เราขอแบ่งปันภาพวิถีชีวิตบางส่วนของชาวกะเบอะดินเพื่อให้ทุกคนได้ร่วมหาคำตอบว่าทำไมหมู่บ้านแห่งนี้จึงไม่ควรต้องหายไปเพราะโครงการเหมืองถ่านหิน
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2564
อัตราการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในสาธารณรัฐประชาชนจีนเพิ่มปริมาณขึ้นอย่างรวดเร็วจนเทียบเท่ากับปริมาณการลดใช้ถ่านหินทั่วโลกทั้งหมดในปี 2563 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกของการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทั่วโลกนับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา จะเห็นว่าได้ทำสถิติเสมอกัน โดยในปี 2563 มีการปลดระวางโรงไฟ้าถ่านหินกำลังการผลิตรวม 37.8 กิกะวัตต์ นำโดยประเทศสหรัฐอเมริกา 11.3 กิกะวัตต์ และสหภาพยุโรปอีก 10.1 กิกะวัตต์ ทว่า ความสามารถในการปลดระวางโรงไฟฟ้าถ่านหินนี้กลับถูกบดบังรัศมีเมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนดำเนินการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่
-
ทำไมเราต้อง #ปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล เพื่อร่วมกันสร้างความยุติธรรมทางสังคม!
โลกที่เราอาศัยอยู่ทุกวันนี้หมุนรอบระบบเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการเติบโตอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เหนือคุณภาพชีวิตของผู้คนและสิ่งแวดล้อม ระบบนี้แย่งชิงทรัพยากรของโลกและยังเอารัดเอาเปรียบผู้เปราะบางที่สุด นอกจากนั้นยังซ้ำเติมความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างและสร้างผลกระทบต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศในระดับที่ลึกซึ้ง โดยมี “ทุนฟอสซิล” จากเชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นตัวการสำคัญ