All articles
-
ทำไมพลาสติกที่ใช้แล้วทิ้งจึงไม่ใช่ตัวเลือกสำหรับอนาคต
แล้วทางออกของปัญหานี้คืออะไร? ท่ามกลางขยะพลาสติกที่พุ่งทะยานขึ้นอย่างต่อเนื่อง
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
วอชิงตัน ดีซี, สหรัฐอเมริกา, 1 ตุลาคม 2562 – รายงาน “Throwing Away the Future: How Companies Still Have It Wrong on Plastic Pollution “Solutions,” ของกรีนพีซ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเผยแพร่ในวันนี้ กระตุ้นเตือนให้ผู้บริโภคตั้งคำถามต่อวิธีการแก้ปัญหาของบรรดาบริษัทข้ามชาติที่นำมาใช้รับมือวิกฤตมลพิษพลาสติก ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ผิดๆ เหล่านี้ เช่น การหันมาใช้กระดาษ…
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
บริษัทข้ามชาติทั้งหลายกำลังลงทุนในเทคโนโลยีการรีไซเคิลเชิงเคมีซึ่งมีความเสี่ยงและทำให้เกิดความหวังที่ผิดๆ ซึ่งทำให้ผู้บริโภคยังคงยึดติดกับการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกต่อไป
-
เก็บ สังเกต บันทึก รู้จักที่มาของขยะผ่านแบรนด์
การตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) ทำขึ้นเพื่อสำรวจว่าขยะเหล่านี้เป็นของบริษัทใดมากที่สุด เพื่อสะท้อนเชิงข้อมูล และสถิติการใช้ของผู้บริโภค และผลักดันให้บริษัทมีความรับผิดชอบต่อมลพิษพลาสติก จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายในการทำบรรจุภัณฑ์
-
พลาสติก พะยูน ทะเลไทย ในมุมมองของ ชิน-ศิรชัย อรุณรักษ์ติชัย
เชื่อว่าคนไทยยังคงจดจำภาพมาเรียม พะยูนตัวน้อยดูดครีบจ๊วบ ๆ และกินนมนอนหลับในอ้อมกอดของพี่เลี้ยงได้ดี การจากไปของมาเรียมและสัตว์ทะเลอีกหลายชนิดในช่วงนี้ทำให้ในนัยหนึ่งเกิดเป็นกระแสความหวังด้านการอนุรักษ์สัตว์ทะเล และการลดใช้พลาสติก แต่ในเรื่องราวความสูญเสียเหล่านี้ยังคงมีความหวังอยู่จริงหรือ
-
7 สิ่งมหัศจรรย์ในทะเลซาร์กัสโซ กับมลพิษพลาสติกที่ต้องเผชิญ
มลพิษพลาสติกกำลังกระจายตัวไปทั่วโลก และพวกมันกำลังคุกคามเหล่าสิ่งมีชีวิตในทะเลซาร์กัสโซ มหาสมุทรแอตแลนติก
-
ข้อเสนอของกรีนพีซ กรณี Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทย และผลกระทบจากมลพิษพลาสติกต่อสัตว์ป่าและสัตว์ทะเลหายาก
กรุงเทพ, 27 สิงหาคม 2562– จากกรณีการเสียชีวิตของกวางในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ตลอดจนสัตว์ทะเลหายากและใกล้สูญพันธุ์รวมถึงพะยูนและเต่าทะเลที่มีสาเหตุหนึ่งจากการกลืนขยะพลาสติกเข้าไปสะสมอยู่ในระบบทางเดินอาหาร[1] ธารา บัวคำศรี ผู้อำนวยการประจำประเทศไทย กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า “ในช่วงเวลาเพียงสองสัปดาห์ ถ้าไม่นับตั้งแต่ช่วงต้นปี 2562 มาจนถึงปัจจุบัน เราสูญเสียสัตว์ทะเลหายากและสัตว์ป่าไปหลายชีวิตจากมลพิษพลาสติก คำถามคือ Roadmap การจัดการพลาสติกของประเทศไทยที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบไปเมื่อเดือนเมษายน 2562 นั้นเพียงพอหรือไม่ที่จะหลีกเลี่ยงมิให้โศกนาฏกรรมดังกล่าวนี้เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก” “แม้ว่า Roadmap จะระบุถึงสถานการณ์ปัญหาขยะพลาสติกครอบคลุมทั้งภาคการผลิต การบริโภคและหลังการบริโภค รวมถึงได้ระบุความท้าทายของการขาดกลไกทางกฎหมายไม่ว่าจะเป็น 1) กฎหมายให้ผู้ผลิตระบุประเภทพลาสติกที่ใช้ทำผลิตภัณฑ์ 2)…
-
ความตายของพะยูน…บอกอะไรกับเรา
เชื่อว่าตอนนี้ไม่มีคนไทยคนไหนที่ไม่รู้จักพะยูนอีกแล้ว ช่วงสามเดือนที่ผ่านมา คนไทยได้ใกล้ชิดและเรียนรู้เกี่ยวกับพะยูนมากอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อน ผ่านเรื่องราวของมาเรียมและยามีล ลูกพะยูนกำพร้าเพศเมียและเพศผู้ที่ได้รับการอนุบาลอย่างใกล้ชิดโดยทีมสัตวแพทย์ นักวิชาการ ชาวบ้านและอาสาสมัครกว่าร้อยชีวิต แต่ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาเราต้องพบกับข่าวพะยูนเสียชีวิตอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการจากไปมาเรียมและยามีล
-
เริ่มลดตั้งแต่ผู้ผลิตหรือต้องร่วมกันเก็บกวาดตลอดไป?
วิธีที่จะทำให้การเก็บขยะพลาสติกตามชายหาดให้เห็นผลอย่างแท้จริงนั้นก็คือการเรียกร้องให้แบรนด์ผู้ที่เป็นต้นทางของมลพิษพลาสติกเป็นผู้รับผิดชอบ
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซ กรณีวาฬหัวทุยเสียชีวิตกลางทะเลแถบเกาะลันตา จ.กระบี่
ถึงแม้ว่าขยะพลาสติกจะไม่ใช่สาเหตุการเสียชีวิตของวาฬหัวทุยในครั้งนี้ แต่ตราบเท่าที่สังคมมนุษย์ยังปล่อยให้มีขยะพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งเพิ่มปริมาณมากขึ้นในสิ่งแวดล้อมทางทะเล มลพิษพลาสติกจะยังคงเป็นหนึ่งในภัยคุกคามของความอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตและสัตว์ทะเลหายากอยู่ต่อไป