All articles
-
เหมืองทองผิดกฏหมาย ทำลายความหลากหลายทางชีวภาพของแอมะซอนได้อย่างไร?
ป่าแอมะซอนในบราซิล คือป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดในโลก แต่การทำเหมืองผิดกฏหมายส่งผลกระทบต่อแม่น้ำที่ไหลผ่านป่า ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งอาหารหลักของชนพื้นเมืองในภูมิภาคนี้
-
10 ความลับที่ยิ่งใหญ่ของผึ้ง
คุณรู้จักผึ้งมากแค่ไหน? นี่คือ 10 เรื่องเล็ก ๆ ที่น่ารัก แต่สำคัญและยิ่งใหญ่เกี่ยวกับผึ้งที่เราเคยพบเจอ มาดูกันดีกว่าว่าจะมีอะไรบ้าง
-
ใครคือผู้ได้รับผลประโยชน์จากอุตสาหกรรมอาหาร?
หลายปีที่ผ่านมา กลุ่มขับเคลื่อนที่ต่อสู้เพื่ออธิปไตยทางอาหาร พยายามกระจายอำนาจคืนสู่ผู้ผลิตอาหารรายย่อย แก้ไขความเสียหายที่เกิดจากการทำเกษตรกรรมเชิงอุตสาหกรรมที่ไม่ยั่งยืน เพื่อปกป้องชุมชน สิ่งแวดล้อม และสิทธิ์ในการเข้าถึงอาหารของพวกเราทุกคน
-
ฝุ่นพิษภาคเหนือ : เมื่อเกษตรกรคือแพะรับบาป แต่หลังม่านกลับพบทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่?
เมื่อฤดูฝุ่นควันมาถึง สิ่งที่มักตามมาด้วยคือวาทกรรมเกษตรกรคือคนผิด ทั้งที่เป็นปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างนโยบายที่รัฐผลักดันให้เอื้อกับการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกษตรผูกขาดของกลุ่มทุนในประเทศ ว่าแต่กลุ่มทุนผูกขาดยักษ์ใหญ่เกี่ยวอะไรด้วย สรุปแล้วใครต้องรับผิดชอบต่อฝุ่นพิษที่เกิดขึ้น เกษตรกรในระบบเกษตรพันธสัญญา หน่วยงานภาครัฐหรือภาคธุรกิจที่ส่งเสริมให้เกิดการเกษตรแบบนี้ แล้วเราจะมาร่วมกันแก้ไขปัญหานี้ด้วยกันอย่างไร?
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และงานรณรงค์ด้านฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
ในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ตัวแทนประเทศจากบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะร่วมประชุมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) ที่สิงคโปร์ ในเรื่องฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซถึงผู้นำอาเซียน: เร่งลงมือแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
7 มิถุนายน 2566, สิงคโปร์ — ผู้นำจากห้าประเทศในภูมิภาคอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) กำลังประชุมหารือในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ในประเด็นปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน และวางแผนข้อตกลงความร่วมมือระดับภูมิภาค
-
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน ฝุ่นภาคเหนือมาจากไหน แล้วใครต้องรับผิดชอบ?
-
นิทรรศการHazilla ปีศาจฝุ่นร้ายข้ามพรมแดนจากการลงทุนข้ามแดน
ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนดูจะเป็นสิ่งที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องเผชิญร่วมกัน มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ประสบฝุ่นพิษข้ามแดน
-
กฎหมายที่ขาดหายไปใต้ฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
กว่า 15 ปีที่ประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนต้องทนกับฝุ่นพิษที่ปกคลุมทั่วภูมิภาคเป็นเวลาหลายเดือนทุกช่วงต้นปี จนเกิดทัศนคติหลากหลายวาทกรรมที่สร้างให้คนบนดอยและเกษตรกรเป็นจำเลยผู้ก่อมลพิษของสังคม
-
พูดคุยเรื่องฝุ่นพิษกับ ชัยยนต์ ศรีสมุทร นายกเทศมนตรีแม่สาย ในวันที่ชาวแม่สายได้รับผลกระทบจาก PM2.5 อย่างรุนแรง
เราได้มีโอกาสพูดคุยกับนายกฯ เกี่ยวกับการทำงานของเทศบาลตำบลแม่สายในการรับมือกับฝุ่นพิษ ปัญหาอุปสรรคที่พบ และข้อเรียกร้องของนายกเทศมนตรีในฐานะตัวแทนของประชาชนที่อาศัยอยู่ใน อ.แม่สาย