All articles
-
IPCC: ระบบอาหารเน้นพืชผักและปกป้องผืนป่า คือทางออกของวิกฤตโลกร้อน “Now or Never”
คำเตือนก่อนสายเกินแก้ของรายงาน IPCC ฉบับที่สาม ระบุว่า ยุทธศาสตร์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน คือการยุติพลังงานฟอสซิล และที่สำคัญตามมาคือ เปลี่ยนระบบอาหารเนื้อสัตว์และนมที่มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกถึงหนึ่งในสาม
-
ป่าแอมะซอนถูกทำลายสูงขึ้น ทำลายสถิติเดิม
ในเดือนกุมภาพันธ์ ข้อมูลจาก ดาวเทียมดีเทอร์ (DETER) พบการทำลายป่าแอมะซอนเพิ่มขึ้นในระดับสูงมาก โดยพบว่าป่าแอมะซอนถูกทำลายเป็นวงกว้างในเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ทำให้นักวิทยาศาสตร์ออกมาเตือนให้รับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นโดยเร่งด่วน
-
สงครามและความเปราะบางของระบบอาหารเชิงอุตสาหกรรม
สงครามรัสเซีย-ยูเครนนอกจากจะสร้างแต่ความสูญเสียมหาศาลต่อชาวยูเครนแล้ว ยังส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบอาหารของโลกที่พึ่งพาการผลิตเชิงอุตสาหกรรมและพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล นานาประเทศกำลังกังวลถึงภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้น หากรัสเซียไม่หยุดยั้งสงครามในเดือนเมษายน
-
เกษตรพันธสัญญากับชีวิตเกษตรกรไทย มูฟออนยังไงก็เป็นวงกลม
ในเดือนมีนาคมที่ฝุ่นควันภาคเหนือปกคลุมทั่วเมืองเชียงใหม่ เราชวน รศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ เจ้าของผลงานหนังสือ ‘บ่วงบาศพิฆาตเกษตรกร’ มาพูดคุยกันถึงประเด็นที่ไม่เคยตกยุคจากสังคมไทย และตั้งคำถามว่าระบบการเกษตรแบบไหนที่ทำให้ชีวิตพวกเขาต้องลำบากและตกอยู่ในบ่วงหนี้สินที่ไม่ว่าจะพยายามแค่ไหนก็ดิ้นไม่หลุดเสียที
-
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม กรีนพีซ ประเทศไทย มูลนิธิบูรณะนิเวศ สภาลมหายใจเชียงใหม่/ภาคเหนือ และนักกิจกรรมทางสังคม ร่วมเป็นผู้ฟ้องคดีฝุ่น PM2.5
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม กรีนพีซ ประเทศไทย มูลนิธิบูรณะนิเวศ สภาลมหายใจภาคเหนือ สภาลมหายใจเชียงใหม่ นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ นักกิจกรรมทางสังคม และ นันทิชา โอเจริญชัย เยาวชนนักสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมเดินทางไปที่ศาลปกครอง ถนนแจ้งวัฒนะโดยเป็นโจทก์ร่วมฟ้องคดีปกครองต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ กระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักที่ละเลยการปฎิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัดในการคืนอากาศสะอาดซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน
-
เสียงของผู้หญิงที่ท้าทายระบบเก่าเพื่อสร้างระเบียบโลกใหม่
“ทุกสิ่งทุกอย่างเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน” เรามักได้ยินคำนี้กันอยู่บ่อยๆ แต่แท้จริงแล้วมันหมายถึงอะไรกันแน่ ?
-
กว่าสองทศวรรษของการรณรงค์ เรือเอสเพอรันซาให้ความหวังว่าเราจะมีสิ่งแวดล้อมที่ดีในอนาคต
เรือเอสเพอรันซาเดินทางไปในหลายน่านน้ำเพื่อเปิดโปงอาชญากรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการล่าวาฬ อุตสาหกรรมประมงทำลายล้าง การขนส่งน้ำมันปาล์มดิบที่มาจากการทำลายผืนป่าฝนเขตร้อน และรณรงค์เปลี่ยนผ่านการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลสู่พลังงานหมุนเวียนที่สะอาด ในปีนี้ (พ.ศ.2565) เรือเอสเพอรันซาเดินทางไปถึงจุดหมายสุดท้ายในเมืองชายฝั่ง กิฆอน (Gijón) ประเทศสเปน และปลดระวางจากหน้าที่ของตัวเอง
-
เมื่อผึ้งหาย = วายวอด และทำไมอียูถึงแบนสารเคมีที่อันตรายต่อผึ้ง
ผึ้งไม่ได้ให้แต่น้ำผึ้งเท่านั้น แต่ยังให้ ‘อาหาร’ ผึ้งเป็นผู้ผสมเกสรพืชจำนวนมาก แต่ในตอนนี้ผึ้งกำลังตกอยู่ในอันตรายจากการผลิตอาหารของเรา เช่นเดียวกับพืชพันธุ์ธรรมชาติอื่นๆ
-
World Wetlands Day เมื่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศคุกคามพื้นที่ชุ่มน้ำทั่วโลก
แม้ว่าจะมีบทบาทสำคัญต่อการรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่พื้นที่ชุ่มน้ำกลับถูกคุกคามและถูกทำลายไปอย่างรวดเร็วกว่าพื้นที่ป่าถึง 3 เท่า
-
โรคระบาดจากชั้นดินเยือกแข็ง – น้ำแข็งละลายในอาร์กติก ทำให้เกิดโรคระบาดร้ายแรงได้จริงหรือ?
ในเดือนพฤศจิกายน 2562 กลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากทั่วโลกมารวมตัวที่เมืองฮันโนเฟอร์ เยอรมนี เพื่อร่วมลงพื้นที่วิจัย นักวิทยาศาสตร์ที่มาร่วมการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญจากสาขาภูมิอากาศวิทยา ธรณีวิทยา และไวรัสวิทยา โดยร่วมกันแชร์ประสบการณ์ด้านวิชาชีพเป็นครั้งแรก และยังพูดถึงภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นหากจุลินทรีย์ถูกปลดปล่อยออกมาจากชั้นดินเยือกแข็ง