All articles
-
สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และอนาคตของระบบอาหาร สรุปวงเสวนา‘ลดเนื้อเพื่ออออ…?’
ลดเนื้อเพื่ออออ…?’ วงเสวนาจาก กรีนพีซ ไทยแลนด์ ชวน ฐิตา พลายรักษา จากเพจ TITA.VEGANISTA, วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์ จาก KRUA.CO, นิชาภา นิศาบดี เจ้าของร้านอาหารสมถะ, กานดา ชัยสาครสมุทร นิสิตจุฬาฯ ที่เคยเลิกกินเนื้อสัตว์ และ รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ จากกรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงจุดเริ่มต้นในการหันมาลดการกินเนื้อ สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ ไปจนถึงเหตุผลที่ระบบอาหารไม่ควรอยู่ภายใต้การผูกขาดของกลุ่มอุตสาหกรรม
-
กรีนพีซบราซิลประณามความตกลงใหม่ด้านป่าไม้ใน COP26 ชี้ว่าจะเปิดช่องทางล้างผลาญผืนป่าทั่วโลกไปอีกนับทศวรรษ
การประชุมสมัชชารัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) มีการประกาศความตกลงด้านป่าไม้หลายรูปแบบ และหนึ่งในนั้นคือ ความตกลงระหว่างกลุ่มรัฐบาลประเทศต่าง ๆ รวมถึงรัฐบาลบราซิลเพื่อยุติการทำลายป่าภายในปี 2573 แต่กรีนพีซเห็นว่าความตกลงดังกล่าวนี้เป็นใบอนุญาตที่นำไปสู่การทำลายป่าไม้ต่อไปอีกนับทศวรรษ
-
องค์กรและคนตัวเล็ก ๆ ช่วยสร้างระบบอาหารที่ดีขึ้นได้อย่างไร
'สวนผักคนเมืองเชียงใหม่' พลังของคนตัวเล็ก ๆ ช่วยกันเปลี่ยนที่ทิ้งขยะกว่า 20 ปีเป็นส่วนผักอินทรีย์ สร้างระบบอาหารที่ดีให้ชุมชน
-
ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยแบบจอมปลอม
เพื่อให้ระบบการทำฟาร์มมีความยืดหยุ่น เพื่อสุขภาพของมนุษย์ที่ดีขึ้น และเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สหภาพยุโรปไม่จำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิต แต่ควรผลิตอย่างแตกต่าง โดยผลิตเชิงในนิเวศท้องถิ่นให้มากขึ้น เพื่อผลผลิตที่ดีต่อสุขภาพ โดยให้ความสำคัญกับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมน้อยลง รวมถึงการลดการผลิตพืชอาหารสัตว์ และลดการนำพืชที่คนสามารถกินได้มาผลิตเป็นเชื้อเพลิง
-
ป้อนอาหารให้ปัญหา : ความอันตรายที่เพิ่มขึ้นการทำฟาร์มปศุสัตว์ในยุโรป
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมวัวที่มีมากเกินไปส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสุขภาพเรา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชี้ให้เห็นความจำเป็นในการลดการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ชัดเจนและเร่งด่วนกว่าครั้งใดในอดีต
-
จริงหรือไม่ ที่เขาว่าปลาตัวเล็กมีแคลเซียมเยอะ
ร่วมไขคำตอบว่า ปลาเล็กปลาน้อยเหล่านี้มีแคลเซียมมากอย่างที่เราได้ยินกันมาจริงหรือไม่ ก่อนจะเข้าสู่บทสรุปที่ว่า เราผู้บริโภคจะเลือกกินอย่างไรให้ดีต่อทั้งสุขภาพเราเองและท้องทะเล
-
เมล็ดพันธุ์ การล่าอาณานิคมยุคศตวรรษที่ 21 ผ่านทางความตกลงการค้าของบรรษัทเกษตร
ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีอำนาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่า หรือมีรัฐบาลที่แข็งกร้าวต่อประชาชนแต่อ่อนข้อให้กับประเทศมหาอำนาจ การจดสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์ภายในข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศจึงถูกมองโดยนักคิดนักเคลื่อนไหวว่าเป็นเสมือนล่าอาณานิคมในยุคศตวรรษที่ 21
-
กรีนพีซผ่านภาพจำของเร็กซ์ เวย์เลอร์ ผู้ร่วมก่อตั้ง
ตั้งแต่ปี 2517 ถึงปี 2525 ผมได้รับหน้าที่เป็นช่างภาพในงานรณรงค์ของกรีนพีซ และภาพชุดต่อไปนี้คือเรื่องราวหลายปีที่กรีนพีซได้สร้างขึ้น
-
หนุ่ม กฤษณะ ศรีถนอมวงศ์ ชาวสุราษฎร์สู่การเดินทางรอบโลกเพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม
เรื่องราวของหนุ่มใต้คนหนึ่งตัดสินใจการกระโดดลงเรือของกรีนพีซ ผจญภัยไปยังนานาประเทศ เพื่อเป็นแนวหน้าในการขับเคลื่อนงานรณรงค์ สู่ชายวัยกลางคนที่มุ่งมั่นทำงานด้านสิ่งแวดล้อมกว่า 20 ปี
-
ผู้หญิงกับการต่อสู้ทางนิเวศวิทยา
ดร.แวนดาน่า ชีวา ได้ตีพิมพ์คำปราศรัยสั้น ๆ ที่พูดถึงเรื่องความเชื่อมโยงระหว่างการล่าอาณานิคมกับผู้หญิง เธอกล่าวว่า "ความมั่นคงทางอาหารและการปกป้องเมล็ดพันธุ์พื้นเมืองเป็นรากฐานสำคัญที่ปลดปล่อยสตรีทั่วโลก"