All articles
-
เมื่อคนที่หลงใหลในเมล็ดกาแฟ ก็อยากจะรักษ์โลกเหมือนกัน
การลดการใช้ภาชนะพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ช่วงแรกๆอาจจะดูไม่สะดวกสบายที่ต้องพกขวดน้ำ กล่องอาหาร และถุงผ้าไปทุกที่ แต่เชื่อเราเถอะว่าพอเริ่มปรับตัวได้ ทุกอย่างจะกลายเป็นเรื่องง่ายมาก
-
ฉลากบนผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สำคัญอย่างไร
คุณจะเปลี่ยนวิธีการเลือกซื้อเนื้อสัตว์หรือไม่ หากทราบรายละเอียดที่มาของเนื้อสัตว์ชิ้นนั้นอย่างแท้จริง
-
บทสัมภาษณ์: ยาปฏิชีวนะ เชื้อดื้อยา และอาหาร ผ่านมุมมองของ รศ.ดร.นพ. ดิเรก ลิ้มมธุรสกุล
“ในปีหนึ่งคุณกินยาปฏิชีวนะกี่ครั้ง?” คำถามที่เราควรหมั่นถามตัวเองและคนที่เรารัก เพราะปริมาณยาปฏิชีวนะที่เราได้รับนั้นส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของเรา และต่อสุขภาพร่วมกันของคนทั่วโลก เนื่องจากเชื่อมโยงปัญหาเชื้อดื้อยา วิกฤตที่เกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น
-
อีกด้านหนึ่งของนักล่าแห่งท้องทะเล
ฉลามกับบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการรักษาสมดุลของทะเล
-
6 เมนูอาหารจานผัก ที่ให้โปรตีนไม่แพ้เนื้อสัตว์
“หิวไหม.. ทานอะไรมาหรือยัง ถ้ายัง.. ทานข้าวกันหน่อยดีไหม?”
-
กรีนพีซเรียกร้องรัฐบาลกำหนดนโยบายปกป้องเกษตรกรจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมู และผลกระทบอื่นจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
กรุงเทพฯ, 27 มิถุนายน 2562 -- กรีนพีซชี้รัฐบาลไทยต้องยกระดับมาตรการป้องกันอุตสาหกรรมหมูจากการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในหมูที่กำลังคุกคามอุตสาหกรรมหมูของเอเชีย เพื่อไม่ให้ไทยกลายเป็นประเทศต่อไปที่เผชิญกับหมูติดเชื้อจากภัยระบาด
-
“เชฟน่าน หงษ์วิวัฒน์” กับบทบาทพ่อครัวและพ่อของลูก
น่าน หงษ์วิวัฒน์ หรือ “เชฟน่าน” ตัวแทนคุณพ่อและเชฟชื่อดัง จากเว็บไซต์ KRUA.CO เว็บไซต์ด้านอาหารรูปแบบใหม่ จากสำนักพิมพ์แสงแดด ผู้ที่ผลิตตำราอาหารมากมาย และนิตยาสารครัว จะมาพูดคุยกับเราเกี่ยวกับ การกินให้ยั่งยืน
-
ลด น.เนื้อ เพื่อ ล.โลก กรีนพีซรณรงค์งดเนื้อสัตว์เพื่อลดความเสี่ยงเชื้อดื้อยา
เนื่องในสัปดาห์งดเนื้อสัตว์โลก กรีนพีซในหลายประเทศได้จัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันนโยบายลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่เกิดจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
-
สวัสดีทุกคน ฉันคือ “อุรังอุตัง”
บางคนอาจเรียกฉันว่า คนป่า เพราะคำว่า “อุรังอุตัง” มาจากภาษามาเล โดย อุรัง แปลว่า มนุษย์ และ อุตัง เพี้ยนมาจากคำว่า ฮูตัง ซึ่งแปลว่า ป่า จริง ๆ
-
5 ประเภทอาหารที่ควรกินแบบอินทรีย์
ปัจจุบันวัตถุดิบ อาหารหลายอย่างที่เราบริโภคนั้น เราไม่สามารถทราบถึงต้นทางในการผลิตได้แน่ชัด แน่นอนว่าพืชผัก เนื้อสัตว์ที่ถูกผลิตในเชิงอุตสาหกรรมนั้นอาจปนเปื้อนสารเคมี เช่น ยาฆ่าแมลง ยาฆ่าหญ้า หรือมีการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็น ทั้งนี้ สารเคมีดังกล่าวยังมีส่วนทำให้เกิดมะเร็งและความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ผู้บริโภคจำนวนมากหันมาเลือกวัตถุดิบอาหารที่มาจากการเกษตรเชิงนิเวศ ซึ่งเป็นอาหารที่เรารู้ที่มาและปลอดภัยกว่า