All articles
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
กู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนภัยพิบัติทางธรรมชาติจะทวีความรุนแรงสุดขั้วทั่วทุกภูมิภาค
หากเรายังคงนิ่งเฉยและปล่อยให้อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการไม่จำกัดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง เราจะต้องพบเจอกับภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงและบ่อยมากขึ้นเรื่อยๆ รวมทั้งการขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งอาจทำให้มนุษย์เราอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้อย่างยากลำบากกว่าเดิม
-
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครบรอบ 20 ปี ในปี 2020
ระยะเวลา 20 ปีถือเป็นก้าวสำคัญที่ควรค่าแก่การระลึกถึงอย่างแท้จริง และเป็นช่วงเวลาที่สมบูรณ์แบบในการกล่าวขอบคุณทุกๆ คน โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ ผู้สนับสนุน ผู้บริจาคและพันธมิตรที่ทุ่มเท ที่ช่วยสร้างความหลากหลายในกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทำให้เราเติบโตดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
-
เรื่องที่เราควรรู้ จากเหตุการณ์ไฟป่าที่รัฐแคลิฟอร์เนีย
นี่เป็นอีกครั้งที่รัฐแคลิฟอร์เนียต้องรับมือกับไฟป่าครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แต่ถึงเช่นนั้น ก็ยังคงไม่ค่อยมีใครให้ความสนใจกับประเด็นต้นตอของการเกิดไฟป่าเท่าที่ควรทั้งที่ต้นเหตุต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดไฟป่าในครั้งที่ผ่านมาอาจทำให้ไฟป่าในครั้งต่อไปหนักหนาสาหัสยิ่งยิ่งกว่าเดิม ไฟอาจลุกลามได้ไวยิ่งขึ้น และอาจเป็นภัยกับทั้งผู้คนและผืนป่าซึ่งถือว่าเป็นสมบัติอันล้ำค่าอย่างหนึ่งของชาติ บทความนี้เราจะพูดถึงเบื้องหลังของสาเหตุไฟป่าที่เกิดขึ้นในทุกวันนี้
-
เมื่อไม่มีมิติการเมือง การเปลี่ยนแปลงเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
ตลอดระยะเวลาที่ “วาระด้านสิ่งแวดล้อม” กลายเป็นกระแสหลัก การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมักจะถูกมองว่า เป็นเรื่องแยกขาดจากการเมืองอย่างสิ้นเชิง เสมือนว่าการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมนั้นอยู่นอกเหนือบริบทความขัดแย้ง และอาจมีสภานะภาพ ‘พิเศษ’ กว่าวาระอื่นๆ ในสังคม
-
ผู้คนนับล้านไร้บ้านเพราะภัยน้ำท่วม
ในขณะที่ทุกคนกำลังให้ความสนใจกับการระบาดของโควิด 19 ยังมีภัยร้ายอีกหนึ่งอย่าง นั่นก็คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ที่ยังคงเกิดขึ้นอยู่อย่างต่อเนื่อง ถ้าคุณกำลังคาดหวังจะให้ทุกอย่างกลับไปเป็นเหมือนเดิม หลังจากโควิด 19 จบลงแล้ว คุณอาจจะต้องคิดใหม่
-
คำแถลงของกรีนพีซ ประเทศไทย ว่าด้วยประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาที่ยั่งยืน
เราเชื่อว่า ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” เรายึดถือในหลักการประชาธิปไตยที่ดี (Healthy Democracy) ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการรับรองสิทธิทางสิ่งแวดล้อมและสิทธิทางการเมืองของประชาชน
-
เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ดีต่อสิ่งแวดล้อมจริง ๆ หรือไม่?
เพราะโรคระบาด COVID-19 ทำให้เราเห็นความเชื่อมโยงว่าเรากับธรรมชาติจำเป็นจะต้องพึ่งพากันมากแค่ไหน และแสดงให้เห็นว่าระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโลกปัจจุบันนี้ถูกขับเคลื่อนด้วยวิถีชีวิตที่วุ่นวาย การบริโภคที่ล้นเกินและการผลักภาระให้กับธรรมชาติ เป็นระบบเศรษฐกิจที่ไม่ยั่งยืน
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 2)
ติดตามอีก 5 สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมรอบโลกและไทยในครึ่งแรกของปี
-
10 สถานการณ์สิ่งแวดล้อมรอบโลกท่ามกลางไวรัส Covid-19 (ตอนที่ 1)
ครึ่งแรกของปี 2563 นี้ มีสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมอะไรบ้างที่เกิดขึ้นทั้งในไทยและทั่วโลก