All articles
-
การจัดลําดับเมืองที่มีปัญหามลพิษทางอากาศ ปี 2558
การจัดลําดับเมืองที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) ในประเทศไทยประมวลผล จากการรายงานข้อมูลของสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ 12 สถานีทั่วประเทศ
-
ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม จากการลงทุนถ่านหินของบริษัทไทยในอินโดนีเซีย
เหมืองถ่านหินของบริษัทบ้านปูฯ ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สร้างผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เป็นรอยแผลที่บาดลึกและยากเกินจะเยียวยาของผู้คนในจังหวัดกาลิมันตัน อินโดนีเซีย ไม่ว่าจะเป็นการทำลายป่า การปนเปื้อนมลพิษในแหล่งน้ำและผืนดิน รวมไปถึงการละเมิดสิทธิชุมชน
-
ลาก่อนถ่านหิน! “พีบอดี” เหมืองถ่านหินที่ใหญ่ที่สุดในโลกล้มละลาย
โดมิโนชิ้นใหญ่ที่สุดล้มครืน สัญญาณเตือนแห่งทางตันของอุตสาหกรรมถ่านหิน
-
การปลูกผักสำหรับคนเมือง
หลายคนอาจจะคิดว่าการปลูกผักไว้กินเองที่บ้านเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและจำเป็นต้องใช้พื้นที่บริเวณกว้างในการปลูก แต่ที่แล้วจริงแล้วพืชผักในเมืองไทยปลูกง่ายโตเร็วและที่สำคัญคนเมืองที่มีพื้นที่ไม่มากนักหรืออาจจะมีพื้นที่แค่น้อยนิดเพียงหน้าระเบียงของคอนโดก็สามารถที่จะปลูกผักกินเองได้แล้ว
-
15 เรื่องที่คุณอาจไม่รู้เกี่ยวกับเชอร์โนบิล
เช้าตรู่วันที่ 26 เมษายน 2529 เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลจำนวนสี่เครื่องระเบิด สหประชาชาติประกาศว่า เป็นหายนะด้านสิ่งแวดล้อมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
-
การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่
ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ
-
หมอกจางๆ หรือควัน – การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว
ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาคงมีคนจำนวนไม่น้อยที่ได้สัมผัสกับความสดชื่นของทะเลหมอกและฟ้าใสในยามเช้า แต่ทันที่อากาศเย็นหมดลงหมอกควันสีทึมๆ ก็จะเข้ามาแทนที่ หมอกควันจากการเผาในที่โล่งและการขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวอย่างเช่นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นสาเหตุหลักของวิกฤตหมอกควันพิษปกคุลมในพื้นที่ภาคเหนือ
-
หายนะภัยนิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะยังวิกฤตต่อเนื่อง กรีนพีซเรียกร้องความรับผิดชอบ
กรีนพีซร่วมรำลึกถึงหายนะภัยนิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะ ในโอกาสครบรอบ 5 ปี พร้อมเรียกร้องให้ผู้เกี่ยวข้องรับผิดชอบต่อปัญหาที่ยังดำรงอยู่
-
Nuclear Scars มรดกจากหายนะภัยเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
เมื่อหายนะภัยนิวเคลียร์เกิดขึ้นแล้ว เป็นเรื่องยากแสนเข็ญในการจัดการกับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี รายงานของกรีนพีซระบุว่าการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนไม่สามารถทำได้สมบูรณ์
-
สุขภาพสูญเสีย บ้านเรือนสูญสิ้น : มรดกแห่งเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
ผู้รอดชีวิตจากหายนะภัยนิวเคลียร์เชอร์โนบิลยังคงต้องกินอาหารที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีที่เกินกว่าระดับที่ยอมรับได้มาเป็นระยะเวลา 30 ปี หลังเกิดหายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์