-
ในวันที่เร่งรีบพนักงานออฟฟิศอย่างเราจะลดพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งได้อย่างไร?
*บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อให้เรามั่นใจว่าวิธีที่เราใช้ไปนั้นจะลดใช้พลาสติกให้ได้มากที่สุด อย่างที่ผู้เขียนตั้งใจ
-
การปฎิวัติพลังงานบนหลังคาโรงพยาบาลแห่งแรกจากการบริจาคของประชาชน
การเปลี่ยนผ่านการใช้พลังงานหมุนเวียนของโรงพยาบาลแก่งคอยถือเป็นการจุดประกายให้กับหลังคาของโรงพยาบาล โรงเรียน บ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ช่วยกันลงมือผลิตไฟฟ้าบนหลังคาจากแสงอาทิตย์มาใช้อย่างเต็มที่
-
ถ่านหินกำลังทำลายแหล่งน้ำทั่วโลก
ปีที่แล้วเมืองเคปทาวน์(Cape Town) ในอัฟริกาใต้ เกือบต้องกลายเป็นวันที่น้ำประปาหมดเมือง (Day Zero) ประชาชนกว่าสี่ล้านคนต้องต่อคิวเพื่อมารอรับน้ำประปา ในขณะที่เทศบาลท้องถิ่นก็ต้องจำกัดการอุปโภคบริโภคน้ำของประชาชนในแต่ละสัปดาห์ขณะที่ชาวเมืองเคปทาวน์ต้องใช้น้ำอย่างประหยัดและต้องปรับตัวกับการดำเนินชีวิต
-
ภาพอันน่าประทับใจจากการเดินขบวนปกป้องสภาพภูมิอากาศของเยาวชนทั่วโลก
เมื่อวันที่ 15 มีนาคมที่ผ่านมา เด็กนักเรียนกว่า 1 ล้านคน ใน 123 ประเทศทั่วโลก ได้ออกมาเดินขบวนเรียกร้องบนถนนอย่างกล้าหาญในประเทศของตนเองเพื่อที่จะปกป้องอนาคตของพวกเขา เพื่อที่จะลงมือปกป้องโลก และตำหนิผู้นำประเทศที่ไม่คิดที่จะลงมือทำอะไร นี่คือภาพบางส่วนที่สร้างความหวังและแรงบันดาลใจให้กับเรา
-
ความเห็นของกรีนพีซกรณีพบพลาสติก 40 กิโลกรัมในท้องวาฬเกยตื้นเสียชีวิต
วาฬอายุน้อยถูกพบเกยตื้นบริเวณชายหาดในเขตหุบเขาคอมโพสเตลา (Compostela Valley) ประเทศฟิลิปปินส์ กินพลาสติกเข้าไปถึง 40 กิโลกรัม ซึ่งถือเป็นกรณีการพบพลาสติกในกระเพาะอาหารสิ่งมีชีวิตในทะเลที่มากที่สุดเท่าที่เคยพบมา
-
มีอะไรใต้หมอกควัน PM2.5 ภาคเหนือ
ปัญหาหมอกควันพิษภาคเหนือตอนบนที่เกิดขึ้นมาซ้ำแล้วซ้ำอีกมายาวนานกว่า 10 ปี หลายวันที่ผ่านมาในสัปดาห์นี้ เราได้เห็นว่าเชียงใหม่ติดอันดับหนึ่งของเมืองที่มีมลพิษ PM 2.5 สูงสุดในโลกในช่วงเวลาหนึ่ง ติดต่อกันทั้งสัปดาห์
-
เนสท์เล่และยูนิลิเวอร์ บริษัทยักษ์ใหญ่ผู้สร้างมลพิษพลาสติกมากที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่โดนตำหนิจากประชาคมโลกบ่อยครั้งว่าเป็นตัวการก่อมลพิษพลาสติก แต่จากรูปภาพด้านล่างนี้สามารถเปิดเผยความจริงที่ถูกปิดซ่อนได้ดีว่า ขยะพลาสติกที่มีจุดจบที่หลุมฝังกลบที่นี่เป็นบรรจุภัณฑ์พลาสติกจากบริษัทในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ
-
ตีแผ่ความจริงของมลพิษใน Fast Fashion
ตั้งแต่ปีพ.ศ.2543 เป็นต้นมา Fast Fashion ได้รับความนิยมเป็นพลุแตก มูลค่าการซื้อเสื้อผ้าในปีนั้นคือ 1พันล้านดอลล่าร์สหรัฐ และพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในปี พ.ศ.2558 เป็นมูลค่า 1.8 พันล้านดอลล่าร์ แต่สินค้าแฟชั่นจากแนวคิด Fast Fashion นี้ ถูกทิ้งกลายเป็นขยะมากกว่าครึ่งหนึ่งจากการซื้อทั้งหมดภายในเวลาไม่ถึงปี
-
6 แนวคิดจากผู้หญิง ที่มอบความรักให้กับการปกป้องสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมนั้นส่งผลถึงทุกคน และบทบาทของการปกป้องสิ่งแวดล้อมก็เป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถทำได้เช่นกัน
-
ภาพที่ชัดในวันที่ฝุ่นลง
ตัวเลขค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศสำคัญอย่างไรและเราจะทำอย่างไรได้บ้างในวันนี้