-
เมื่อพวกเรา call out เพื่อโลก ประจำปี 2565
เรารวบรวมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมจากกรีนพีซ ที่ได้ส่งข้อความถึงผู้มีอำนาจจากหลายประเทศทั่วโลกในปี 2565 เพราะพวกเราอยากเห็นความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม ที่มาพร้อมกับความเป็นธรรมทางสังคม
-
A year in pictures : เล่าเรื่องผ่านรูป ปี 2565 ประเทศไทยเกิดอะไรขึ้นบ้าง
จากสถานการณ์น้ำมันรั่วระยอง ไปจนถึงการประชุม APEC ปี 2565 ประเทศไทยผ่านอะไรมาบ้าง มาดูกัน!
-
สรุปสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนท้ายปี 2565 : การปกป้องสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง โลกจะต้องหยุดฟอกเขียว
ปีนี้เกิดการพูดคุยและถกเถียงประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมในเชิงโครงสร้างมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนเชื่อมโยงปัญหาสิ่งแวดล้อมปัจจัยอื่น ๆ ทั้งเรื่องสิทธิมนุษยชน และการบริหารจัดการบ้านเมือง รวมถึงการออกนโยบายที่จะเป็นตัวชี้วัดว่าทรัพยากรธรรมชาติจะได้รับการปกป้องหรือถูกทำลาย และเป็นปีที่คำว่า ‘ฟอกเขียว (Greewashing)’ กลายเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
-
COP 27 ความสูญเสียและความเสียหายที่ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ
แม้ว่าการประชุม COP27 จะมีมติตกลงจัดตั้งกองทุนชดเชยควาสูญเสียและเสียหาย เพื่อสนับสนุนเงินให้กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่เรายังคงต้องจับตาการดำเนินกองทุนนี้ต่อไปว่าผู้ก่อมลพิษจะร่วมรับผิดชอบอย่างไร
-
บทสรุป COP27 และอนาคตการปกป้องสภาพภูมิอากาศ
ไฮไลท์สำคัญจาก COP27 ก้าวต่อไปของการร่วมกันแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
-
ที่ประชุม COP27 ตกลงจัดตั้งกองทุนชดเชยความสูญเสียและเสียหาย เพื่อความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ
กลุ่มประเทศร่ำรวยจะต้องสนับสนุนเงินจำนวนราวแสนล้านเหรียญสหรัฐฯต่อปี เพื่อสนับสนุนกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมถึงเพิ่มศักยภาพในการปรับตัวเพื่อการอยู่รอดจากผลกระทบวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
แนวโน้ม COP27 อาจเป็นแค่ประชุมฟอกเขียวของกลุ่มผู้ก่อมลพิษ
ครึ่งทางการประชุมสุดยอดสภาพภูมิอากาศโลก COP27 ในปีนี้มีประเด็นใหม่ที่น่าสนใจนั่นคือ การจัดตั้งกองทุนเพื่อชดเชยความสูญเสียและเสียหาย (Loss and Damage)
-
ทำไมต้องมี ‘กองทุนชดเชยค่าเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ?’ : เมื่อประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศไม่ได้ก่อมลพิษหลัก
เมื่อต้องสูญเสียจากสิ่งที่ตัวเองไม่ได้ก่อ หลายประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศเริ่มเรียกร้อง “ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ” เพื่อสิทธิที่จะอาศัยอยู่ในโลกที่ปลอดภัยจากกลุ่มประเทศผู้ก่อมลพิษหลัก
-
กรีนพีซโต้ร่างเอกสารเจรจาที่เตรียมโดยอียิปต์ในฐานะประธาน COP27
เยบ ซาโน(Yeb Saño) ผู้อำนวยการบริหาร กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ หัวหน้าคณะผู้แทนกรีนพีซที่เข้าร่วม COP27 กล่าวว่า: ร่างเอกสารเจรจาที่เราได้รับจากคณะเจ้าภาพการประชุม COP27 จะยิ่งทำให้โลกของเราเดินเข้าสู่ภัยพิบัติวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่เลวร้ายกว่าเดิม
-
แบรนด์ยักษ์ใหญ่ “โคคา-โคล่า” ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของการประชุม COP27 ถูกจัดอันดับว่าเป็นผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดในช่วงห้าปีที่ผ่านมา
เป็นเรื่องที่น่าแปลกอย่างมากที่บริษัทผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดกลายเป็นผู้สนับสนุนการประชุม เวทีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ COP 27 ที่จัดขึ้นที่อียิปต์ ทำให้เกิดความสับสนของนักกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมว่าทำไมบริษัทอย่างโคคา-โคล่าที่ใช้พลาสติกซึ่งผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 99% กลายมามีบทบาทสำคัญในการประชุม COP 27 ได้