All articles
-
ศาลปกครองพิพากษาคดี PM2.5 สั่งให้กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ PRTR
ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีว่าการ จัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วัน
-
ญี่ปุ่นประกาศวันทิ้งน้ำปนเปื้อนรังสีลงทะเลจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
กรีนพีซ ญี่ปุ่น วิจารณ์การตัดสินใจของรัฐบาลญี่ปุ่นที่ประกาศวันเริ่มต้นทิ้งน้ำปนเปื้อนรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก
-
คำแถลงด้วยวาจาของผู้ฟ้องคดี PM2.5
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย แถลงยืนยันถึงข้อเท็จจริงในวันนัดนั่งพิจารณาคดีครั้งแรก ย้ำให้ศาลเห็นว่าหน่วยงานรัฐทั้งสามละเลยต่อหน้าที่ หรือปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าในการคืนอากาศสะอาดซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานให้กับประชาชน
-
ภาคประชาสังคมและเอกชนยื่น 5 ข้อเรียกร้องรัฐบาลใหม่ ค่าไฟต้องแฟร์
เครือข่ายสนับสนุนการขับเคลื่อนค่าไฟฟ้าที่เป็นธรรม จัดงานแถลงข่าว “ค่าไฟต้องแฟร์: ข้อเสนอภาคประชาสังคมและเอกชนถึงรัฐบาลใหม่” ร่วมยื่นข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลใหม่ ให้เร่งเปลี่ยนค่าไฟแพงเป็น #ค่าไฟต้องแฟร์
-
ความเห็นของกรีนพีซ กรณีเหตุการณ์น้ำท่วมครั้งใหญ่ในกรุงปักกิ่ง
สัปดาห์นี้ ประชาชนกว่า 650,000 คนที่อาศัยอยู่ในเมืองจูโจวทางตอนใต้ของกรุงปักกิ่ง ต้องเผชิญกับเหตุการณ์น้ำท่วมรุนแรงจากเหตุการณ์ฝนตกหนักในปักกิ่ง
-
คำป่าหลาย: จากเหมืองแร่ ทวงคืนผืนป่า สู่วาทกรรม BCG
สกลนคร, 26 กรกฎาคม 2566 - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร กลุ่มอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลาย จังหวัดมุกดาหาร โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านทรัพยากรแร่ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม และกรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมจัดงาน “คำป่าหลาย” จากเหมืองแร่ ทวงคืนผืนป่า สู่วาทกรรม BCG : การปิดล้อมอำนาจของผู้หญิงในการเข้าถึงและจัดการทรัพยากร
-
ผู้เชี่ยวชาญระบุ ผลกระทบหลังเขื่อนคาคอฟกาพังทลาย ทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ผลิตอาหารและดื่มไม่ได้อีกเป็นเวลาหลายปี
การรุกรานยูเครนของรัสเซียทำให้เขื่อนคาคอฟกาพังทลายเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2566 อาจเป็นเหตุให้มีการรั่วไหลของสารเคมี ก๊าซ น้ำมัน และน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในบ้านเรือน ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคพาณิชยกรรมในเขตพื้นที่น้ำท่วม
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทยต่อกรอบการเจรจาและท่าทีของประเทศไทยในการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลว่าด้วยสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)
ในเดือนมีนาคม 2565 ที่ประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UNEA) ซึ่งเป็นเวทีการประชุม สหประชาชาติระดับสูงที่สุดในการกำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของโลก ได้รับรองข้อมติยุติมลพิษจากพลาสติก : ด้วยมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ พร้อมจัดตั้ง คณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาล (Intergovernmental Negitiating Committee on Plastic Pollution) ขึ้นเพื่อเจรจาและจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศด้านมลพิษ จากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเล หรืออีกนัยหนึ่งคือ “สนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty)”
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และงานรณรงค์ด้านฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
ในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ตัวแทนประเทศจากบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะร่วมประชุมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) ที่สิงคโปร์ ในเรื่องฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซถึงผู้นำอาเซียน: เร่งลงมือแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
7 มิถุนายน 2566, สิงคโปร์ — ผู้นำจากห้าประเทศในภูมิภาคอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) กำลังประชุมหารือในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ในประเด็นปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน และวางแผนข้อตกลงความร่วมมือระดับภูมิภาค