All articles
-
กรีนพีซตอบโต้ร่างเนื้อหาความตกลงใน COP26 ที่กลาสโกว์
ร่างความตกลงนี้ไม่ใช่แผนการกอบกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่เป็นความตกลงที่เราทุกคนต้องการให้เป็นและคาดหวังว่าจะดีที่สุด เป็นการร้องขอที่นิ่มนวลว่าประเทศต่างๆ อาจจะทำมากขึ้นในปีหน้า แต่ที่แน่ๆ มันยังไม่ดีพอ และคณะเจรจาทั้งหลายไม่ควรคิดที่จะเดินทางออกจากกลาสโกว์จนกว่าพวกเขาจะเห็นชอบในความตกลงที่สอดคล้องกับสถานการณ์ เพราะแทบจะมั่นใจได้ว่า ความตกลงที่กลาสไกว์จะไม่มีสิ่งนี้
-
กรีนพีซย้ำ การวิเคราะห์ล่าสุดของ Climate Action Tracker ชี้ถึงอนาคตที่เป็นหายนะ
การวิเคราะห์ของ The Climate Action Tracker พบว่า เมื่อพิจารณาจากแผนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2573 ของรัฐภาคีสมาชิกทั้งหมดภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะยังคงเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 องศาเซลเซียสในปี 2643 จากการวิเคราะห์ถึงปฏิบัติการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แต่ละประเทศทั่วโลกลงมือทำจริงๆ (ไม่ใช่แผนงานบนแผ่นกระดาษ) อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะเพิ่มขึ้นไปอีกเป็น 2.7 องศาเซลเซียสในปี 2643
-
กรีนพีซ อินเดีย ระบุ แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของรัฐบาลอินเดีย ไปด้วยกันไม่ได้กับการลงทุนใหม่ในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
อินเดียควรมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์โดยสุทธิให้เร็วขึ้นหลังจากประเมินสถานการณ์ในปีต่อๆไป แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวต้องไม่นำใช้ในทางที่ผิดและการฟอกเขียว และควรมีการกำหนดเวลาให้ชัดเจนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด
-
กรีนพีซบราซิลประณามความตกลงใหม่ด้านป่าไม้ใน COP26 ชี้ว่าจะเปิดช่องทางล้างผลาญผืนป่าทั่วโลกไปอีกนับทศวรรษ
การประชุมสมัชชารัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) มีการประกาศความตกลงด้านป่าไม้หลายรูปแบบ และหนึ่งในนั้นคือ ความตกลงระหว่างกลุ่มรัฐบาลประเทศต่าง ๆ รวมถึงรัฐบาลบราซิลเพื่อยุติการทำลายป่าภายในปี 2573 แต่กรีนพีซเห็นว่าความตกลงดังกล่าวนี้เป็นใบอนุญาตที่นำไปสู่การทำลายป่าไม้ต่อไปอีกนับทศวรรษ
-
COP26 : บททดสอบสำหรับมนุษยชาติ ถึงเวลาลงมือทำ
COP26 คือบททดสอบสำหรับเราในฐานะมนุษย์ การประชุมครั้งนี้เป็นห้วงเวลาทางการเมืองครั้งใหญ่สุดในวิกฤตสภาพภูมิอากาศนับตั้งแต่การประชุมเจรจาในกรุงปารีสเมื่อ 6 ปีก่อน ในขณะที่ความตกลงปารีสตั้งเป้าหมายเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม กลาสโกว์เป็นสถานที่ซึ่งประชาคมโลกต้องตกลงว่าจะบรรลุเป้าหมาย 1.5 องศาเซลเซียสอย่างไร
-
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
-
พบขยะพลาสติกจากโคคา-โคล่า และเป๊ปซี่โคสูงสุดเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
รายงานแบรนด์ออดิทปี 2564 ยังพบจำนวนขยะพลาสติกจากผู้สนับสนุนหลักของ COP26 อย่างยูนิลิเวอร์ เพิ่มขึ้นจนติดอันดับผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากสุดเป็นอันดับ 3 ของโลก
-
เอกสารลับแฉ! กลุ่มประเทศผู้ผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลตีกลับแผนปฏิบัติการสภาพภูมิอากาศในรายงาน IPCC
รายงานข่าวจากอันเอิร์ธ เปิดเผยเอกสารรั่วไหลที่ระบุว่า กลุ่มประเทศผู้ผลิตถ่านหิน เนื้อสัตว์เชิงและอาหารสัตว์ส่วนหนึ่งพยายามลบผลการค้นพบในรายงานด้านสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติ (UN)
-
24 องค์กรภาคประชาสังคมเรียกร้องชาติอาเซียนปกป้องสิทธิมนุษยชนของแรงงานประมงข้ามชาติ
รายงานล่าสุดจากความร่วมมือของ 24 องค์กรภาคประชาสังคมเผยหน่วยงานภาครัฐที่ดูแลด้านสิทธิมนุษยชน แรงงานข้ามชาติ และป้องกันอาชญากรรมของชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังล้มเหลวในการปกป้องแรงงานประมงข้ามชาติที่ทำงานบนเรือประมงในน่านน้ำสากล
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562