All articles
-
4 ปีหลังแอมะซอนถูกทำลายหนัก เราจะมีหวังฟื้นฟูป่าในอนาคตหรือไม่?
จากข้อมูลตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2021 ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2022 มีพื้นที่ป่าแอมะซอนถูกทำลายไปเทียบเท่าสนามฟุตบอล 1.6 ล้านสนาม หมอกควันปริมาณมากจากการไฟป่ากลายเป็นผลกระทบต่อสุขภาพกับชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ยิ่งไปกว่านั้น พวกเขาต้องสูดดมควันพิษซึ่งเป็นอันตรายในขณะที่ก็ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เลวร้ายจากการระบาดของโรคโควิด - 19 อีกด้วย
-
กรีนพีซเรียกร้องให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว สนับสนุนด้านการเงินเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพผ่านในการประชุม COP15
มอนทรีออล แคนาดา – การสนับสนุนด้านการเงินให้กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา กลุ่มชนพื้นเมืองและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ เป็นปัจจัยสำคัญและเป็นข้อเจรจาในการประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) ที่เกิดขึ้นที่มอนทรีออล อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กลุ่มประเทศที่ร่ำรวยยังคงไม่ตกลงที่จะสนับสนุนด้านการเงินเพื่อทำให้เป้าหมายการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกสำเร็จ หากไม่มีกองทุนก็อาจทำให้แผนปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมายเป็นไปได้ยากขึ้น
-
ชาวประมงอินโดฯ ถูกบังคับใช้แรงงาน ยื่นฟ้องประธานาธิบดี สู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสิทธิคนประมง
แรงงานอินโดฯยื่นฟ้องประธานธิบดี ถูกบังคับใช้แรงงาน ตัดสินใจฟ้องประธานาธิบดีนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสิทธิคนประมง
-
ประธานาธิบดีฝรั่งเศสประกาศแบนเหมืองทะเลลึกที่ COP27
เอ็มมานูเอล มาครง (Emmanuel Macron) ประธานาธิบดีฝรั่งเศส แถลงเรียกร้องให้ระงับโครงการเมืองทะเลลึกโดยทันที ในระหว่างการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 27 ที่ประเทศอียิปต์ หรือ COP27
-
การเจรจาสนธิสัญญาทะเลหลวงล่ม… อีกแล้ว
การประชุมหารือเพื่อลงมติรับรองสนธิสัญญาทะเลหลวงไปไม่ถึงเป้าหมาย แม้ในช่วง 48 ชั่วโมงที่ผ่านมาจะมีความคืบหน้าในหลายประเด็น ส่งผลให้แผนการปกป้องมหาสมุทรให้ได้ 30% ภายในปี พ.ศ. 2573 ยังต้องล่าช้าต่อไปอีก แม้เจรจากันมายาวนานกว่า 20 ปี
-
พบไมโครพลาสติกในอุจจาระและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์คุ้มครองในไต้หวัน
รายงานผลการศึกษาที่จัดทำโดยสำนักงานกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ในกรุงไทเป ของเกาะไต้หวัน แสดงให้เห็นการตรวจพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองหลายชนิดในไต้หวัน รวมถึงหมีดำฟอร์มาซาน และกวางป่าไต้หวัน อีกทั้งยังมีการตรวจพบไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำที่รวบรวมจากถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์คุ้มครองเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าบรรดาสัตว์ที่ได้รับการคุ้มครองทั้งหลายมีการสัมผัสและกินไมโครพลาสติกเข้าไป แม้จะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของพวกมันเอง
-
สรุปสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนครึ่งปี 2565 – วิกฤตสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงกว่าเดิม และการรณรงค์ให้หยุด ‘ฟอกเขียว’ จากทั่วโลก
ในปีนี้ เรายังคงสรุปสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่น่าสนใจเพื่อให้ทุกคนได้อัพเดทประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมจากไทยและทั่วโลก
-
การฟอกเขียวและกลลวงคาร์บอนใต้โฉมหน้า Net Zero ของไทย
เราจะวิเคราะห์พร้อมตั้งคำถามและข้อสังเกตต่อ “แผนที่นำทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2573 และยุทธศาสตร์ระยะยาวในการพัฒนาแบบปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำของประเทศไทยฉบับปรับปรุง(Net Zero)”
-
มลพิษพลาสติกในทะเล ใครควรเป็นคนรับผิดชอบ?
มหาสมุทรนับว่าเป็นปอดของโลก ครึ่งหนึ่งของอากาศที่หายใจเข้าไปมาจากที่นี่ แต่ตอนนี้มหาสมุทรของพวกเรากำลังถูกทำลายจากมลพิษพลาสติกที่มาจากพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง (single-use plastic) และเครื่องมือการทำประมง มลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นในมหาสมุทรนับว่าเป็นภัยคุกคามที่อาจส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเลรวมถึงความสามารถในการผลิตก๊าซออกซิเจนให้เราหายใจ
-
ประชุม IGC5 : ความหวังสุดท้ายของทะเลหลวง
มหาสมุทรทั่วโลกกำลังเผชิญสารพัดภัยคุกคาม ขณะที่พื้นที่เพียง 1% ของทะเลหลวงเท่านั้นที่ได้รับการปกป้อง