All articles
-
เหมืองถ่านหินและอนาคตแม่ทะหลัง Covid-19
ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 ยังมีการเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะต่อไปอย่างเงียบๆ
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2563
การติดตามแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลก ปี 2563 จากฐานข้อมูลติดตามโรงไฟฟ้าถ่านหินท่ัวโลก พบว่าตัวชี้วัดการเติบโตของกําลังการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินแทบทั้งหมดมีการลดปริมาณลงในปี 2562 ซึ่งนับเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
-
สถานการณ์น้ำในวิกฤตโลกร้อน
วันน้ำโลกในปี พ.ศ.2563 นี้ยกประเด็น น้ำในวิกฤตโลกร้อน เป็นเรื่องสำคัญ สหประชาชาติระบุว่า การรับมือกับวิกฤตน้ำจากผลกระทบที่เป็นหายนะของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะช่วยปกป้องสุขภาพและช่วยชีวิตผู้คน การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและกู้วิกฤตโลกร้อน
-
“กะเบอะดิน อัตลักษณ์ จิตวิญญาณ ผืนป่า” เมื่อชุมชนลุกขึ้นปกป้องพื้นที่จาก เหมืองถ่านหิน
“ทำไมเขาไม่เห็นใจเรา บ้านเราก็ไม่ได้รวยอะไรแค่ต้องการที่จะใช้ชีวิตอยู่ในหมู่บ้านของเราหมู่บ้านที่เราเกิด” คำพูดคำพูดหนึ่งของ พาตี่ (ลุง) คนหนึ่งที่ได้แสดงความคิดเห็นและความกังวลต่อโครงการเหมืองแร่ถ่านหินที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ “ถ้าเราไม่หยุดเหมืองแร่เราก็อาจไม่มีบ้านอยู่”
-
เราจะยอมให้อมก๋อยเป็นเหมืองถ่านหินจริง ๆ หรือ?
การต่อสู้ของชุมชนที่อมก๋อยคือหัวใจสำคัญของการยุติยุคถ่านหิน ต้นทุนผลกระทบภายนอกจากการนำถ่านหินมาผลิตไฟฟ้าและการผลิตทางอุตสาหกรรมทำความเสียหายให้กับสภาพภูมิอากาศโลกและชุมชนนั้นสูงเกินกว่าที่จะแบกรับ
-
กรีนพีซเผยมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลทำทั่วโลก สูญวันละ 8,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
กรีนพีซ และศูนย์วิจัยด้านพลังงานและอากาศสะอาด เผยรายงานวิจัยมลพิษทางอากาศจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล ที่เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้คนประมาณ 4.5 ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิตในแต่ละปี
-
รายงานอากาศพิษ : ราคาของเชื้อเพลิงฟอสซิล
รายงานฉบับนี้ เปิดเผย มูลค่าความเสียหายของมลพิษทางอากาศจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและหยิบยกแนวทางแก้ไขที่สามารถปกป้องสุขภาพ และยังเป็นประโยชน์ต่อชุมชนของเรา โดยรายงานแสดงให้เห็นว่า มลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของผู้คนทั่วโลกราว 4.5 ล้านคนต่อปี
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
ผู้ก่อมลพิษ (ไม่) ต้องจ่ายที่มวกเหล็ก?
แหล่งของน้ำนมดิบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยกำลังเสี่ยงต่อการปนเปื้อนมลพิษจากถ่านหิน
-
มวกเหล็ก เมืองนมดีของทุกคน
จุดเริ่มต้นของหนังสือเล่มนี้ เกิดขึ้นจากผู้คนหลากหลายสาขาอาชีพที่มีความห่วงใยและวิตกต่อผลกระทบจากการดำเนินโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อน 150 เมกะวัตต์ ในเขตพื้นที่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี