All articles
-
การวิเคราะห์ของกรีนพีซ แหล่งกําเนิดของไนโตรเจนไดออกไซด์ในประเทศไทยจากข้อมูลดาวเทียม
ไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) และออกไซด์ของไนโตรเจน(NOx)1 สารมลพิษทางอากาศที่เป็นอันตราย ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคทางเดินหายใจและความเสียหายต่อปอดหากรับเข้าไปแบบเฉียบพลันและเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคเรื้อรังหากรับเข้าไปในระยะยาว
-
ญี่ปุ่นให้เงินกู้โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศต่างๆ ซึ่งมีการปล่อยมลพิษมากกว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินในญี่ปุ่นถึง 13 – 40 เท่า
รัฐบาลญี่ปุ่นและสถาบันการเงินระหว่างประเทศเช่น ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น(JBIC), องค์การเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น(JICA), และธนาคารเพื่อการนำเข้าและส่งออกของญี่ปุ่น(Nippon Export and Investment-NEXI)มีบทบาทในการส่งออกมลพิษไปยังประเทศต่างๆ ผ่านการให้เงินกู้โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ซึ่งพบว่ามีการปล่อยมลพิษในระดับที่มากกว่าที่กำหนดไว้ในญี่ปุ่น
-
กรีนพีซรายงานผลพื้นที่มลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลก
ผลจากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมของนาซาระบุว่าโรงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมที่ใช้ถ่านหินและน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิด 2 ใน 3 ของมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ส่วนโรงกลั่นน้ำมันและโรงถลุงเหล็ก ก็เป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลกเช่นเดียวกัน
-
มลพิษทางอากาศในปักกิ่งกลับมาอีกครั้ง หลังมีการใช้ถ่านหินเพิ่มขึ้น 13%
ระดับมลพิษทางอากาศในปักกิ่ง เทียนจินและอีก 26 เมืองโดยรอบเพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 6.5 เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคมในปีก่อนหน้านี้ หรือเป็นช่วงที่รัฐบาลประกาศใช้แผนควบคุมมลพิษทางอากาศในช่วงฤดูหนาว
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2562
จาก ฐานข้อมูลการติดตามโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลก (Global Coal Plant Tracker) สามปีมาแล้วที่ตัวชี้วัดการเติบโตของกำลังผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินเกือบทั้งหมดลดลงในปี 2561
-
ถ่านหินกำลังทำลายแหล่งน้ำทั่วโลก
ปีที่แล้วเมืองเคปทาวน์(Cape Town) ในอัฟริกาใต้ เกือบต้องกลายเป็นวันที่น้ำประปาหมดเมือง (Day Zero) ประชาชนกว่าสี่ล้านคนต้องต่อคิวเพื่อมารอรับน้ำประปา ในขณะที่เทศบาลท้องถิ่นก็ต้องจำกัดการอุปโภคบริโภคน้ำของประชาชนในแต่ละสัปดาห์ขณะที่ชาวเมืองเคปทาวน์ต้องใช้น้ำอย่างประหยัดและต้องปรับตัวกับการดำเนินชีวิต
-
พีดีพีฉบับสิ้นสุดทางเลือก
แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าฉบับล่าสุด (PDP 2018) กำหนดทิศทางการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยเป็นเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
-
แถลงการณ์กรีนพีซ กรณีคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน(กกพ.)ผ่านความเห็นชอบ โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
การพิจารณาผ่านความเห็นชอบโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินมวกเหล็กสะท้อนให้เห็นการเพิกเฉยของหน่วยงานกำกับกิจการพลังงานของภาครัฐต่อความไม่ชอบธรรมและการละเมิดสิทธิของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ที่เกิดขึ้น
-
EHIAถ่านหินมวกเหล็กกับความจริงที่เลือนหาย
แม้ว่ากระบวนการการพิจารณาเห็นชอบโครงการฯจะใกล้สิ้นสุด และโครงการฯดังกล่าวของทางบริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จำกัด(มหาชน)ใกล้จะได้รับอนุญาตตามกระบวนการการจัดทำรายงานEHIAแบบเงียบๆ แต่เมื่อเรามาเปิดรายงาน EHIA ฉบับโรงไฟฟ้าถ่านหินฉบับนี้แล้วกลับพบว่าแทบไม่มีการกล่าวถึงผลกระทบต่อชุมชนในบริเวณใกล้เคียงเลย
-
นักวิชาการย้ำความไม่ชอบธรรมของ EHIA ถ่านหินมวกเหล็กที่ล้มเหลวในการระบุต้นทุนมหาศาลทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
ชมรมอนุรักษ์มวกเหล็ก ศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม และกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดงานเสวนา “EHIA พลังงานมวกเหล็ก ต้นทุนที่ต้องจ่าย?” มวกเหล็กเป็นพื้นที่โรงไฟฟ้าขยะที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยและกำลังอยู่ในขั้นตอนรอคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน(กกพ.) พิจารณาอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินมวกเหล็กอันเป็นขั้นตอนสุดท้ายเพื่อนำไปสู่การดำเนินการก่อสร้างในที่สุด