All articles
-
รายงานเผย ผลิตภัณฑ์ของ SHEIN ปนเปื้อนสารเคมีอันตราย ผิดเงื่อนไขสหภาพยุโรป
รายงานฉบับใหม่ของ กรีนพีซ เยอรมนี เปิดเผยถึงการพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์แบรนด์ฟาสต์แฟชั่น SHEIN โดยทดสอบผลิตภัณฑ์จากแบรนด์ SHEIN ทั้งหมด 47 ชิ้น และพบการปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ 7 ชิ้น (คิดเป็น 15%) ซึ่งการพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายในผลิตภัณฑ์นี้ผิดเงื่อนไขการจำกัดปริมาณสารเคมีของสหภาพยุโรป
-
แบรนด์ยักษ์ใหญ่ “โคคา-โคล่า” ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของการประชุม COP27 ถูกจัดอันดับว่าเป็นผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดในช่วงห้าปีที่ผ่านมา
เป็นเรื่องที่น่าแปลกอย่างมากที่บริษัทผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดกลายเป็นผู้สนับสนุนการประชุม เวทีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ COP 27 ที่จัดขึ้นที่อียิปต์ ทำให้เกิดความสับสนของนักกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมว่าทำไมบริษัทอย่างโคคา-โคล่าที่ใช้พลาสติกซึ่งผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 99% กลายมามีบทบาทสำคัญในการประชุม COP 27 ได้
-
แบรนด์ใหญ่ทำไม่ได้ตามที่พูด และยังคงล้มเหลวในการจัดการปัญหามลพิษพลาสติก
มูลนิธิเอเลน แมค อาร์เธอร์ (EMF) ได้เปิดเผยในรายงาน Global Commitment 2022 Progress Report ว่าบริษัทต่าง ๆ จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายหลักในการสร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนสำหรับพลาสติก ซึ่งตั้งไว้ในปี 2568 โดยรายงานระบุว่า เป้าหมายในการนำพลาสติกทั้งหมดมาใช้ซ้ำ รีไซเคิล หรือต้องย่อยสลายได้ 100% ภายในปี 2568 แทบจะไม่สำเร็จแน่นอนแล้ว ขณะเดียวกัน ตัวเลขการใช้พลาสติกใหม่ยังเพิ่มสูงขึ้นเทียบเท่าปี 2561
-
พบขยะสิ่งทอจากแบรนด์ชื่อดังอย่าง Nike, Clarks และหลากหลายแบรนด์เป็นเชื้อเพลิง (ที่เป็นพิษ) ในธุรกิจเตาเผาอิฐกัมพูชา (ตอนที่ 2)
โรงงานผลิตเสื้อผ้าและรองเท้าที่ผลิตสินค้าให้กับแบรนด์เสื้อผ้าชื่อดังของโลกส่วนใหญ่จะทิ้งเสื้อผ้า รองเท้าหรือสิ่งทออื่น ๆ ไปยังบ่อขยะหรือที่อื่นๆ ผ่านบริษัทที่มีใบอนุญาตในการกำจัดขยะ อย่างไรก็ตาม ในอุตสาหกรรมแฟชั่นที่ผลิตขยะเสื้อผ้าในปริมาณมากกลับไม่มีมาตรการที่รัดกุมมากพอที่จะทำให้ขยะเหล่านี้กลายเป็นเชื้อเพลิงในเตาเผาอิฐตามโรงงาน
-
พบขยะสิ่งทอจากแบรนด์ชื่อดังอย่าง Nike, Clarks และหลากหลายแบรนด์เป็นเชื้อเพลิง (ที่เป็นพิษ) ในธุรกิจเตาเผาอิฐกัมพูชา (ตอนที่ 1)
เศษเสื้อผ้าที่ถูกทิ้งจากโรงงานผลิตในกัมพูชาเชื่อมโยงไปถึงห่วงโซ่การผลิตของกลุ่มแบรนด์เสื้อผ้าเครื่องประดับชื่อดัง โดยขยะสิ่งทอเหล่านี้กลายเป็นเชื้อเพลิงในธุรกิจเตาเผาอิฐ ก่อให้เกิดมลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน
-
Coca-Cola’s Plastic Promises : “โค้ก” ขวดแก้วที่หายไป
Coca-Cola’s Plastic Promises คือสารคดีที่ว่าด้วยปัญหามลพิษพลาสติก โดยเจาะลึกบทบาทของผู้ผลิต และตั้งคำถามถึงแคมเปญ “โลกไร้ขยะ” ของบริษัทโคคา-โคล่า หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “โค้ก”
-
CP ครองแชมป์ผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศที่พบขยะพลาสติกมากที่สุดจากBrand Audit ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมากรีนพีซ ประเทศไทย เรียกร้องให้นำหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตมาใช้
กรุงเทพฯ, 29 กันยายน 2565– กรีนพีซ ประเทศไทย มอบรางวัล Top 5 Corporate Plastic Polluters หรือผู้ก่อมลพิษพลาสติกสูงสุด 5 อันดับแรก จากการเก็บขยะและตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) ตั้งแต่ปี 2561-2565 ให้แก่แบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรก ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group), ดัชมิลล์, โอสถสภา, เสริมสุข…
-
แถลงการณ์ของมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ และกรีนพีซ ประเทศไทยกรณีการรั่วไหลของสารเคมีอันตรายจากโรงงานผลิตโพลีเอสเตอร์ของบริษัทอินโดรามา
กรีนพีซจี้ อินโดรามาเปิดรายชื่อสารเคมีที่รั่วไหลพร้อมมาตรการเยียวยาประชาชน ย้ำภาครัฐต้องออกกฎหมายควบคุมมลพิษ PRTR
-
ผลกระทบของฟาสต์แฟชั่นต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในกัมพูชา
เปิดโปงการพบเศษเสื้อผ้าและอุปกรณ์แต่งกายจากแบรนด์ชื่อดังหลายแบรนด์ที่เตาเผาอิฐในกัมพูชา ฟาสต์แฟชั่นกำลังซ่อนปัญหาขยะสิ่งทอปริมาณมหาศาลรวมทั้งการละเมิดสิทธิพนักงานเอาไว้
-
พบไมโครพลาสติกในอุจจาระและถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติของสัตว์คุ้มครองในไต้หวัน
รายงานผลการศึกษาที่จัดทำโดยสำนักงานกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ในกรุงไทเป ของเกาะไต้หวัน แสดงให้เห็นการตรวจพบไมโครพลาสติกในอุจจาระของสัตว์คุ้มครองหลายชนิดในไต้หวัน รวมถึงหมีดำฟอร์มาซาน และกวางป่าไต้หวัน อีกทั้งยังมีการตรวจพบไมโครพลาสติกในแหล่งน้ำที่รวบรวมจากถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์คุ้มครองเหล่านี้ แสดงให้เห็นว่าบรรดาสัตว์ที่ได้รับการคุ้มครองทั้งหลายมีการสัมผัสและกินไมโครพลาสติกเข้าไป แม้จะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของพวกมันเอง