All articles
-
ชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมโลก ศาลตัดสินให้การปกป้องสิ่งแวดล้อมสำคัญกว่าผลประโยชน์ทางธุรกิจ
ข่าวดีสำหรับชนพื้นเมืองในนิวซีแลนด์ “ชาวกีวี” ซึ่งคัดค้านการทำเหมืองใต้ทะเล (KASM) และกรีนพีซ เมื่อศาลอุทธรณ์นิวซีแลนด์ยืนยันคำตัดสินไม่ต่อใบอนุญาตให้บริษัททรานส์-ทัสมัน รีซอร์เซส (TTR) เพื่อทำเหมืองในทางตอนใต้ของอ่าวทารานากิไบรท์
-
วิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ กับเส้นทางอาหารที่อาจเปลี่ยนไปหากไทยเข้าร่วม CPTPP
CPTPP ในชื่อภาษาไทยคือ “ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership” ฟังเผิน ๆ แล้วอาจดูไกลตัว แต่จริงๆแล้วหากไทยเข้าร่วมความตกลงนี้ เส้นทางอาหาร 1 จานบนโต๊ะของเราอาจเปลี่ยนแปลงไปตลอดกาล
-
โลกของโรค ตอนที่ 2 หมูเห็ดเป็ดไก่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร และโรคระบาด
อาจจะเป็นเรื่องเหลือเชื่อที่มนุษย์อย่างเรามีความสัมพันธ์อย่างตัดไม่ขาดกับธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน
-
การปกป้องสิ่งแวดล้อมคือการปกป้องชีวิตของพวกเรา
สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่าทำให้เกิดรูปแบบการใช้ชีวิตแบบใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เช่น คนต่อแถวยาว เว้นระยะห่างเพื่อซื้ออาหาร การใช้ช่องทางออนไลน์เพื่อติดต่อสื่อสารมากขึ้น (ทำให้ผู้สูงอายุก็ต้องหัดใช้เทคโนโลยีมากขึ้นด้วย) หรือกระทั่งการช่วยเหลือกัน แบ่งปันกันในสังคม สิ่งเหล่านี้คือความพยายามทำให้สังคมของเรากลับมาแข็งแกร่งขึ้นอีกครั้งหลังวิกฤตของโรคระบาด
-
โลกของโรค ตอนที่ 1 โรคระบาดกับระบบนิเวศ
ข้อมูลมากมายจากนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ระบุชัดว่า โรคระบาดครั้งใหญ่ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นตามช่วงเวลา แต่เป็นผลจากการกระทำและกิจกรรมของมนุษย์ต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม หากเราไม่เริ่มทำความเข้าใจระบบนิเวศ และหันมาดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตั้งแต่วันนี้ อาจส่งผลให้เกิดโรคอุบัติซ้ำและอุบัติใหม่
-
ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
รายงานวิเคราะห์ชิ้นล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด
-
กรีนพีซเผยความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ พื้นที่ปลูกข้าวโพด และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
กรีนพีซ ประเทศไทย เผยรายงานวิเคราะห์ล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” ที่เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด
-
จะสูญสิ้นหรือฟื้นคืน : ความหลากหลายทางชีวภาพหลังวิกฤต Covid-19
เมื่อโลกทั้งโลกสั่นสะเทือนจากโรคระบาดขนาดใหญ่ที่ส่งผลกระทบกับคนนับล้านอย่าง Covid-19 เราทุกคนต่างกังวลกับสุขภาพของตนเอง คนที่เรารัก รวมถึงคนที่เปราะบางที่สุดในสังคม ในเพียงเวลาไม่กี่สัปดาห์ Covid-19 กลายเป็นวาระเร่งด่วนมากที่สุด มากกว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศหรือภัยคุกคามจากการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ หายนะภัยที่ครอบงำความสนใจของคนทั้งโลกก่อนหน้านี้ เช่น ไฟป่ามหากาฬในออสเตรเลีย หรือของสังคมไทยกรณีไฟป่าอนุรักษ์ เป็นต้น ดูเหมือนจะเป็นเรื่องที่จริงจังน้อยกว่าการระบาดของ Covid-19 ที่เรามีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
-
ยึดครองเมล็ดพันธุ์ = ยึดกุมอาหาร บทเรียนก่อนถลำสู่ CPTPP
ทางแยกที่รัฐบาลจะต้องเลือกเดินหากเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership (CPTPP) ที่พ่วงมาพร้อมกับ อนุสัญญาระหว่างประเทศ เพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ หรือ UPOV 1991 คือ การตัดสินใจว่าจะให้น้ำหนักความสำคัญไปในทิศทางใด ระหว่างสิทธิในการเข้าถึงอาหารอย่างเป็นธรรมของประชาชน หรือผลประโยชน์คณานับของบรรษัทอาหารและเกษตรที่ครอบครองตลาดเพียงไม่กี่ราย
-
การสร้างระบบภูมิคุ้มกันที่ดี เริ่มได้จากการกิน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 นั้น เราควรทำให้สุขภาพของเราแข็งแรงเพื่อเป็นอีกหนทางในการป้องกันที่ทำได้ง่าย ๆ โดยสามารถสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันที่ดีผ่านการเลือกรับประทานอาหาร ซึ่งจะส่งผลต่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว