All articles
-
กรีนพีซเผยผลการสำรวจ: แบรนด์ระดับโลกเกี่ยวโยงกับการตัดไม้ทำลายป่าฝนเขตร้อนในอินโดนีเซีย
จาการ์ตา, 19 กันยายน 2561 - จากผลการรวบรวมข้อมูลเชิงสืบสวนของกรีนพีซสากลระบุว่า ผู้ค้าน้ำมันปาล์มหลายรายและแบรนด์ระดับโลกได้แก่ ยูนิลีเวอร์(Unilever), เนสท์เล่(Nestlé), คอลเกต-ปาล์มโอลีฟ(Colgate-Palmolive) และมอนเดลีซ(Mondelez) ได้ทำลายผืนป่าฝนเขตร้อนไปเป็นจำนวนมาก โดยมีขนาดเกือบสองเท่าของประเทศสิงคโปร์ในช่วงเวลาน้อยกว่าสามปี
-
เราจะมีมาตรการทำให้อาหารปลอดภัยได้อย่างไร
หลังตรวจเลือดและปัสสาวะหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชปนเปื้อนในร่างกายของเด็กในโรงเรียนพบว่า เด็กในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการกว่าร้อยละ 90 มีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ในร่างกาย และเป็นที่น่าตกใจอย่างยิ่งคือการพบสารเคมีปนเปื้อนในร่างกายของเด็กตั้งแต่ในระดับชั้นอนุบาล
-
10 เรื่องน่ารู้ของอุรังอุตัง
สุขสันต์วันอุรังอุตังโลก! คุณเคยสงสัยไหมว่าอุรังอุตังนอนกันที่ไหน ชื่อ “อุรังอุตัง”มาจากไหน และอีกหลายเรื่องราวน่ารู้เกี่ยวกับอุรังอุตังที่คุณจะต้องร้องว้าว
-
ฉลาม…บนความเป็นและความตาย
แม้ฉลามจะได้ชื่อว่าเป็นนักล่าแห่งมหาสมุทรและมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการรักษาสมดุลของระบบนิเวศใต้ทะเล แต่ฉลามก็จัดเป็นสัตว์กลุ่มที่ถูกคุกคามที่สุดในโลกเช่นกัน
-
ทำอาหารไก่สูตรธรรมชาติโดยใช้วัตถุดิบจากครัวเรือน และท้องถิ่น
สำหรับคนที่เลี้ยงไก่ในบริเวณบ้าน เรามีสูตรการทำอาหารสำหรับไก่โดยใช้วัตถุดิบที่หาง่าย ใกล้ตัวมาให้ได้ลองทำกัน
-
ถิ่นที่อยู่ของอุรังอุตังอันเกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน: สาเหตุที่เราต้องสู้เพื่อปกป้องผืนป่าของเรา
กลุ่มพิทักษ์สิทธิสัตว์ (Intern…
-
ผ.ผัก กินดี
การเปลี่ยนมากินพืชผักให้มากขึ้นไม่ใช่แค่ดีต่อสุขภาพ แต่ยังอร่อยอีกด้วย แผ่นภาพนี้คือผักนานาชนิดที่อุดมด้วยสารอาหารที่เราอยากชวนให้คุณลอง
-
กรีนพีซรณรงค์ลดกินเนื้อสัตว์ และร่วมกินผักให้มากขึ้น ในวันงดเนื้อสัตว์โลก
เนื่องในวันงดเนื้อสัตว์โลก กรีนพีซในหลายประเทศได้จัดกิจกรรมรณรงค์ร่วมกับภาคประชาชนเพื่อผลักดันนโยบายอาหารที่ยั่งยืน ในประเทศไทย กรีนพีซจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้คนตระหนักถึงความเชื่อมโยงของการทำปศุสัตว์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และนำเสนอประโยชน์ที่จะได้จากการกินอาหารที่ทำจากพืชผักเป็นหลัก
-
พาราควอต สารอันตรายที่ประเทศผู้ผลิตและทั่วโลกยังต้องแบน แต่ไทยยังปล่อยให้ใช้ต่อ
มติอันไม่เป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมนี้ได้สร้างความสงสัยให้กับภาคประชาสังคมเป็นอย่างมาก
-
ลดเพื่อเพิ่ม (Less Is More)
“ลด” เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม “เพิ่ม” สุขภาวะที่ดีของมนุษย์และโลก