All articles
-
ไฟป่าอนุรักษ์ : ผลพวงของนโยบายที่ผิดพลาดและสัญญานเตือนของภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ
ตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา เกิดปรากฏการณ์ไฟรุนแรงในพื้นที่ป่าหลายแห่ง เริ่มจาก อุทยานแห่งชาติภูกระดึง จ.เลย ในเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ส่งผลให้เกิดความเสียหายในพื้นที่ป่าสนเขาเป็นวงกว้าง
-
ช่วยด้วย! เพนกวินในแอนตาร์กติกกำลังอยู่ในอันตราย
การสำรวจประชากรเพนกวินในแอนตาร์ติกจะทำให้เราเข้าใจถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยคุกคามต่อเพนกวินมากขึ้น
-
ก้าวย่างรังสีนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ปี 2563: การปนเปื้อนซ้ำและผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศในฟุกุชิมะ
โตเกียว, ญี่ปุ่น 9 มีนาคม 2563 - การสำรวจการปนเปื้อนรังสีนิวเคลียร์รังสีแบบเชิงลึกครั้งล่าสุดของกรีนพีซญี่ปุ่นพบหลักฐานการปนเปื้อนซ้ำจากพายุไต้ฝุ่นหมายเลข 19 (ฮาจิบิส) และไต้ฝุ่นหมายเลข 21 (บัวลอย) ของปีพ.ศ. 2562 ซึ่งปลดปล่อยรังสีซีเซียมลงมาจากภูเขาที่ปกคลุม
-
ถึงเวลาประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศ
ไทยเป็นประเทศอันดับต้นๆ ของโลกที่มีความเสี่ยงสูงต่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศ เมื่ออุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกเพิ่มขึ้นเป็น 1.5 องศาเซลเซียส จำนวนวันแห้งแล้งในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นและรุนแรงยิ่งกว่าเดิม
-
5 เรื่องราวของ “ผู้หญิง” ที่ผลักดัน “ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ”
ปัจจุบัน มีกลุ่มผู้หญิงที่ลุกขึ้นมาแสดงพลังในการปกป้องสิ่งแวดล้อม รวมถึงเรียกร้องความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศอยู่ไม่น้อย
-
มลพิษทางอากาศรุนแรงขึ้นจากสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว ข้อมูลล่าสุดโดย IQAir จัดอันดับเมืองทั่วโลก ที่เผชิญกับผลกระทบสุขภาพจากฝุ่นพิษ PM2.5
สวิตเซอร์แลนด์, 25 กุมภาพันธ์ 2563 – มลพิษทางอากาศยังคงเป็นหนึ่งในภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ที่มากที่สุด
-
เพนกวินในแอนตาร์กติกลดลงมากถึง 77% ในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา
ทีมนักวิทยาศาสตร์ได้เริ่มต้นการสำรวจจำนวนประชากรของเพนกวินชินสแตรปในแอนตาร์กติกอีกครั้ง หลังจากที่เคยสำรวจครั้งสุดท้ายเมื่อ 50 ปีก่อน ซึ่งจากข้อมูลพบว่าจำนวนเพนกวินกำลังลดลงอย่างต่อเนื่อง จนเกือบจะมากถึงร้อยละ 77
-
โลกร้อนขึ้น โรคร้ายขึ้น?
อุณหภูมิของเฉลี่ยของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศอันแปรปรวนและวิกฤตต่าง ๆ ที่ตามมา รวมถึงโรคร้ายต่าง ๆ ที่ดูจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งน่าจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่น่ากังวลมากที่สุด
-
ร้อนสุดๆ ฉุดไม่อยู่ เมื่อปี 2562 ทุบสถิติร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึก (อีกครั้ง)
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เผชิญกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้วบ่อยครั้งและทวีความรุนแรงมากขึ้น ความจริงก็คือ เราเพิ่งจะผ่านปี 2562 ซึ่งเป็นปีที่ร้อนที่สุดครั้งที่ 2 เท่าที่เคยมีการบันทึกไว้
-
“ฝุ่น” อีกมิติว่าด้วย PM 2.5 : คุยกับศาสตราจารย์ นายแพทย์ชายชาญ โพธิรัตน์ หนึ่งในทีมจัดตั้ง Chiang Mai Air Quality Health Index
Chiang Mai Air Quality Health Index หรือ CMAQHI เป็นเว็บไซต์ที่ชาวเชียงใหม่ทุกๆ อำเภอ (25อำเภอในปี2561) และขยายครบทุกตำบล (210 แห่งในปี 2562) ขณะที่เครื่องของทางการมีติดตั้งสถานีตรวจวัดเพียง 2 แห่งเฉพาะในอำเภอเมืองเท่านั้นซึ่งไม่สามารถสะท้อนคุณภาพอากาศได้ทั้งจังหวัดอย่างแน่นอน