All articles
-
EIA อมก๋อย “ความไม่ชอบธรรมที่ชอบทำ”
กลุ่มเฝ้าระวังอมก๋อยยื่นเรื่องขอทบทวนรายงาน EIA ไปที่สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2563 เพราะคิดว่าตัวข้อมูลในรายงานเก่า ล้าสมัยเกินไป และมีข้อบกพร่อง 4 ประการ
-
ส่องกระจกดูภาพสะท้อนมลพิษทางอากาศช่วงโควิดในประเทศไทย
นับแต่โลกก้าวล่วงเข้าสู่ปี 2563 เราก็ไม่อาจกลับไปสู่โลกเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2562 ได้อีกเลย
-
กรีนพีซระบุมลพิษไนโตรเจนไดออกไซด์กลับมาเพิ่มขึ้นในช่วงครึ่งปี 2564 ท่ามกลางวิกฤตโควิดในประเทศไทย
กรุงเทพฯ, 29 กรกฎาคม 2564 กรีนพีซ ประเทศไทย เปิดผลรายงานวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม ระบุมลพิษไนโตรเจนออกไซด์เพิ่มสูงขึ้นในหลายพื้นที่ของไทยในรอบ 1 ปีหลังการล็อคดาวน์ครั้งแรกจากวิกฤตโควิด -19
-
การวิเคราะห์ของกรีนพีซ: มลพิษไนโตรเจนไดออกไซด์(NO2) ช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน 2564 ในประเทศไทย
กรีนพีซ ประเทศไทย เปิดผลรายงานวิเคราะห์ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมระบุมลพิษไนโตรเจนออกไซด์เพิ่มสูงขึ้นในหลายพื้นที่ของไทยในรอบ 1 ปีหลังการล็อคดาวน์ครั้งแรกจากวิกฤตโควิด -19
-
เหมืองถ่านหินและสิทธิชุมชนคนอมก๋อย
“โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย” เป็นอีกหนึ่งในหลายๆ กรณีที่ใช้การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม (EIA) มาตัดสินใจอนุมัติ แต่กระบวนการจัดทำ EIA ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นมีความเป็น “สากล” จริงหรือไม่? นั่นเป็นสิ่งที่เรากำลังตั้งคำถาม
-
อำนาจนิยมที่ไม่นิยมกฎหมาย PRTR
กระบวนการตรวจสอบโรงงาน-ความปลอดภัย ช่องโหว่ของกฎหมายโรงงานอุตสาหกรรม และความจำเป็นต้องมีกฎหมายการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register: PRTR)
-
ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
สรุปประเด็นที่น่าสนใจจากไลฟ์ “พลังงานถ่านหินกับอุตสาหกรรมไทย : ตีแผ่เบื้องหลังการใช้ถ่านหินในอุตสาหกรรมไทยและ EIA กับสิทธิชุมชน” ตอน ทิศทางและภาพรวม “พลังงานถ่านหินไทยในปี 2564”
-
ผู้ก่อมลพิษต้องจ่าย หมิงตี้เคมิคอลต้องจ่ายเท่าไหร่ !?!
“เหตุการณ์นี้เหมือนเดจาวู ที่เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่า แล้วในอนาคตก็จะเกิดอีก” ดร.สมนึก จงมีวศิณ ที่ปรึกษาฝ่ายวิชาการ กลุ่มศึกษาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC Watch) เริ่มต้นการพูดคุยในเวทีเสวนา “#ผนงรจตกม: ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?” ซึ่งจัดโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม EEC Watch และกรีนพีซ ประเทศไทย จากกรณีการระเบิดและอุบัติภัยเพลิงสารเคมีจากถังเก็บโพลีสไตรีน(polystyrene) และเพนเทน(pentane) ซึ่งเป็นสารเคมีตั้งต้นในการผลิตโฟม EPS (Expandable Polystyrene)ของ บริษัท หมิงตี้เคมีคอล จำกัด ในเครือ Ming…
-
เอกสารประกอบเวทีสาธารณะออนไลน์ #ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?
เอกสารและ Presentation ประกอบจากเวทีเสวนาออนไลน์ Live Stream เวทีสาธารณะออนไลน์ “#ผนงรจตกม : ปัดตกกฎหมาย! ผู้ก่อมลพิษไม่ต้องจ่าย?”
-
แถลงการณ์ กรีนพีซ ประเทศไทย อุบัติภัยอุตสาหกรรมในเขตควบคุมมลพิษจังหวัดสมุทรปราการและความจำเป็นของกฏหมาย PRTR ในประเทศไทย
“เราขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งกับครอบครัวเจ้าหน้าที่กู้ภัยที่เสียชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่ และเป็นอีกครั้งหนึ่งในจำนวนนับครั้งไม่ถ้วนที่สังคมไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนโดยรอบโรงงานอุตสาหกรรม ต้องเผชิญกับอุบัติภัยสารเคมีร้ายแรง”