All articles
-
ช่วยด้วย! เพนกวินในแอนตาร์กติกกำลังอยู่ในอันตราย
การสำรวจประชากรเพนกวินในแอนตาร์ติกจะทำให้เราเข้าใจถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยคุกคามต่อเพนกวินมากขึ้น
-
เพราะอะไรเราต้อง “แคร์” ว่าอาหารทะเลมาจากไหน
คุณอาจเป็นคนหนึ่งที่ชอบไปทะเล ชอบกินอาหารทะล หรือมีกิจกรรมโปรดริมทะเล เพราะทะเลเป็นแหล่งก่อเกิดชีวิต อีกทั้งยังเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญ และที่อยู่ของสัตว์ต่างๆ นานาชนิด ใครบ้างจะไม่ชอบกินปลาทูน่าสดสีแดงสวย หรือทูน่ากระป๋อง อาหารเพื่อสุขภาพแสนง่ายที่สามารถหาได้ทั่วไปตามซูเปอร์มาร์เก็ต แต่เราเคยสงสัยกันบ้างหรือเปล่าว่าปลาทูน่าเหล่านี้มาจากไหน
-
#ประมงไทยไม่มูฟออน ตอนที่ 1 ปลาตัวเล็กกับรูรั่วของอ่าวไทย
เรามีกระแสการต่อต้านการนำลูกปลาทูและลูกปลากะตักมาขายเมื่อปีก่อน ครึกโครมมากๆ แต่ตอนนี้เราพบการกลับมากินลูกปลาเหมือนเดิมไม่ว่าจะเป็นตลาด ร้านค้าออนไลน์ ภัตรคารชื่อดัง หรือแม้แต่ถ้อยคำจากปากของจากพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชาก็ไม่เว้น
-
เกิดอะไรขึ้นบ้างในท้องทะเลไทย : ทะเลไม่ได้มีแต่กุ้งหอยปูปลา แต่ยังมีคนจับปลา
หลังสหภาพยุโรปประกาศปลดสถานะใบเหลืองของภาคประมงไทยไปเมื่อมกราคมปีที่แล้ว เราอยากชวนทุกคนมาสำรวจภูมิทัศน์ของอุตสาหกรรมธุรกิจประมงไทยว่า มีความเปลี่ยนแปลงไปมากน้อยเพียงใด และความเชื่อมโยงระหว่าง คนจับปลา- คนขายปลา-คนแปรรูปปลา-และเราในฐานะผู้บริโภคอย่างไรบ้าง
-
อุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นทำให้เต่ามะเฟืองต้องเดินทางหาอาหารไกลขึ้น
งานวิจัยล่าสุดพบ เต่ามะเฟืองหลังจากวางไข่บริเวณหาดฝั่งในประเทศเฟรนซ์เกียนา ในทวีปอเมริกาใต้เสร็จ พวกมันต้องเดินทางไกลขึ้นถึง 2 เท่าเมื่อเทียบกับก่อนหน้านี้ เป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าเต่ากำลังเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปรับตัวให้เข้ากับอุณหภูมิของน้ำทะเลที่สูงขึ้นและกระแสของมหาสมุทรที่เปลี่ยนไปอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
-
ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
-
5 เหตุผล ที่โลกยุคใหม่ยังไม่พ้นจากยุคค้าทาส
เราก็ยังพบการค้าแรงงานทาส ในโลกยุคใหม่ไม่ต่างจากในอดีต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมประมง และกลุ่มแรงงานข้ามชาติชาวอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์
-
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดรายงาน “เส้นทางการบังคับใช้แรงงานของลูกเรือประมงในโลกยุคใหม่”
จาการ์ตา, อินโดนีเซีย, 9 ธันวาคม 2562 - พบเรือประมงต่างชาติ 13 ลำ ซึ่งทำการบริเวณในบริเวณทะเลนอกน่านน้ำ ถูกกล่าวหาว่าละเมิดสิทธิแรงงานประมง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานจากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพัวพันกับขบวนการค้าแรงงานข้ามชาติ หรือที่รู้จักกันว่าคือ “แรงงานทาส” ในโลกยุคใหม่
-
รายงาน “เส้นทางการบังคับใช้แรงงานของลูกเรือประมงในโลกยุคใหม่”
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สื่อมวลชนจากหลากหลายประเทศต่างสนใจนำเสนอประเด็นการใช้แรงงานบังคับบนเรือประมงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างต่อเนื่อง โดยเรือที่ปรากฏในรายงาน ยังเป็นเรือประเภทที่ใช้เครื่องมือประมงแบบทำลายล้างและผิดกฎหมาย ซึ่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบนิเวศในทะเล
-
วิกฤตภูมิอากาศ คือ วิกฤตมหาสมุทรโลก กรีนพีซเรียกร้องให้ผู้นำโลกแก้ไขปัญหามหาสมุทรโดยด่วน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศต่อมหาสมุทรนั้น มีความซับซ้อนและเชื่อมโยงกับความหลากหลายทางชีวภาพและการดำรงอยู่ของมนุษยชาติอย่างลึกซึ้ง ซึ่งต้องการการตอบสนองทางการเมืองทั่วโลกอย่างเร่งด่วนในอีก 12 เดือนข้างหน้า