All articles
-
Coastal Lives during Covid-19 : ชีวิตที่เปลี่ยนไปของแรงงานประมงข้ามชาติในอุตสาหกรรมประมง
หลังการระบาดของโควิด-19 ตอนนี้คนงานข้ามชาติโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมอาหารทะเลมีชีวิตเป็นอย่างไร วิถีชีวิตของพวกเขาเปลี่ยนไปแค่ไหน ?
-
สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และอนาคตของระบบอาหาร สรุปวงเสวนา‘ลดเนื้อเพื่ออออ…?’
ลดเนื้อเพื่ออออ…?’ วงเสวนาจาก กรีนพีซ ไทยแลนด์ ชวน ฐิตา พลายรักษา จากเพจ TITA.VEGANISTA, วรรณแวว หงษ์วิวัฒน์ จาก KRUA.CO, นิชาภา นิศาบดี เจ้าของร้านอาหารสมถะ, กานดา ชัยสาครสมุทร นิสิตจุฬาฯ ที่เคยเลิกกินเนื้อสัตว์ และ รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ จากกรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงจุดเริ่มต้นในการหันมาลดการกินเนื้อ สำรวจผลกระทบของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ ไปจนถึงเหตุผลที่ระบบอาหารไม่ควรอยู่ภายใต้การผูกขาดของกลุ่มอุตสาหกรรม
-
กรีนพีซ อินเดีย ระบุ แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของรัฐบาลอินเดีย ไปด้วยกันไม่ได้กับการลงทุนใหม่ในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
อินเดียควรมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์โดยสุทธิให้เร็วขึ้นหลังจากประเมินสถานการณ์ในปีต่อๆไป แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวต้องไม่นำใช้ในทางที่ผิดและการฟอกเขียว และควรมีการกำหนดเวลาให้ชัดเจนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด
-
กรีนพีซบราซิลประณามความตกลงใหม่ด้านป่าไม้ใน COP26 ชี้ว่าจะเปิดช่องทางล้างผลาญผืนป่าทั่วโลกไปอีกนับทศวรรษ
การประชุมสมัชชารัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) มีการประกาศความตกลงด้านป่าไม้หลายรูปแบบ และหนึ่งในนั้นคือ ความตกลงระหว่างกลุ่มรัฐบาลประเทศต่าง ๆ รวมถึงรัฐบาลบราซิลเพื่อยุติการทำลายป่าภายในปี 2573 แต่กรีนพีซเห็นว่าความตกลงดังกล่าวนี้เป็นใบอนุญาตที่นำไปสู่การทำลายป่าไม้ต่อไปอีกนับทศวรรษ
-
กรีนพีซร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมของเครือข่ายกายา(GAIA) เรียกร้อง UNFCCC ยกระดับแผนการ zero waste ให้ตรงจุดเพื่อชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศและยกระดับคุณภาพชีวิต
กรีนพีซร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมของกายา (Global Alliance for Incinerator Alternatives-GAIA) ร่วมกับเครือข่ายองค์กรทั่วโลก เพื่อเรียกร้องให้การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(UNFCCC) ปฏิเสธแผนการแก้ปัญหาการชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่ไม่ตรงจุด
-
COP26 : บททดสอบสำหรับมนุษยชาติ ถึงเวลาลงมือทำ
COP26 คือบททดสอบสำหรับเราในฐานะมนุษย์ การประชุมครั้งนี้เป็นห้วงเวลาทางการเมืองครั้งใหญ่สุดในวิกฤตสภาพภูมิอากาศนับตั้งแต่การประชุมเจรจาในกรุงปารีสเมื่อ 6 ปีก่อน ในขณะที่ความตกลงปารีสตั้งเป้าหมายเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม กลาสโกว์เป็นสถานที่ซึ่งประชาคมโลกต้องตกลงว่าจะบรรลุเป้าหมาย 1.5 องศาเซลเซียสอย่างไร
-
เรื่องราวของ 6 ผู้หญิงในเมืองใหญ่ เมื่อขนส่งสาธารณะไม่ได้เป็นขนส่งสำหรับทุกคน
พูดคุยกับผู้หญิง 6 คนเกี่ยวกับสิ่งที่เธออยากเห็นเมื่อต้องเดินทางในเมืองต่าง ๆ เพื่อจะช่วยให้เราเห็นปัญหาชัดขึ้น และตระหนักว่าถึงเวลาที่รัฐควรต้องแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างนี้สักที เพราะการเดินทางที่ดี ควรจะเป็นการเดินทางที่ทุกคนเข้าถึงได้จริง ๆ
-
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
-
ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย
การปลดระวางการลงทุนในถ่านหิน (coal divestment) เป็นแนวทางที่ดำเนินการทั่วโลก เนื่องจากการตระหนักถึงพิษภัย และความเสี่ยงในการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนแบบที่ไม่มีจุดวกกลับ ประเทศไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมโลก จึงมีส่วนสำคัญในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อความยั่งยืนของลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปในการดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข
-
พบขยะพลาสติกจากโคคา-โคล่า และเป๊ปซี่โคสูงสุดเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
รายงานแบรนด์ออดิทปี 2564 ยังพบจำนวนขยะพลาสติกจากผู้สนับสนุนหลักของ COP26 อย่างยูนิลิเวอร์ เพิ่มขึ้นจนติดอันดับผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากสุดเป็นอันดับ 3 ของโลก