All articles
-
Nuclear Scars มรดกจากหายนะภัยเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
เมื่อหายนะภัยนิวเคลียร์เกิดขึ้นแล้ว เป็นเรื่องยากแสนเข็ญในการจัดการกับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี รายงานของกรีนพีซระบุว่าการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนไม่สามารถทำได้สมบูรณ์
-
Radiation Reloaded ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิหลังจาก 5 ปีผ่านไป
-
บทเรียนจากฟูกูชิมา อย่าปล่อยให้อุบัติภัยนิวเคลียร์ซ้ำรอย
เหตุภัยพิบัติโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ฟูกูชิมาได้ผ่านพ้นไปเป็นเวลาเกือบ 1 ปีแล้ว แม้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะมีสาเหตุมาจากเหตุแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นและคลื่นยักษ์สึนามิที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น
-
Chernobyl 25 years บันทึก 25 ปีเชอร์โนบิล
การระเบิดของเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์นี้ นับว่าเป็นอุบัติภัยนิวเคลียร์พลเรือนครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ และยังคงส่งผลกระทบมาจนถึงปัจจุบัน แม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะผ่านพ้นไปเป็นเวลา 25 ปีแล้ว
-
ความเสี่ยงของการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา การวางแผนเรื่องต้นทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งแสดงถึงความเสี่ยงในการลงทุนที่สำคัญ มาตรการต่างๆในการบรรเทา และสินเชื่อที่ไม่มีการไล่เบี้ยทางกฎหมายยังคงเป็นประเด็นคำถาม
-
หลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตในบริบทของประเทศกำลังพัฒนา : การจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
รายงานฉบับนี้ศึกษาความเป็นไปได้ในการนําหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต หรือ อีพีอาร์ (Extended Producer Responsibility หรือ EPR) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
-
เศรษฐศาสตร์พลังงานนิวเคลียร์
ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา คำสั่งซื้อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใหม่ลดลงอย่างมากทั่วโลกเหตุผลประการหนึ่งคือเศรษฐกิจที่ตกต่ำซึ่งเป็นเหตุให้คนละทิ้งพลังงานนิวเคลียร์
-
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ
เอกสาร ‘โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ’ เล่มนี้ ไม่ได้มีเป้าหมายที่จะคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้ได้ แต่พยายามให้ข้อมูลและข้อเท็จจริงอีกด้านหนึ่งรวมทั้งทางเลือกที่เป็นไปได้ของสังคมไทยในกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
365 เหตุผล ที่ไม่ควรจำนนต่อพลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์คือคำถามเรื่องความอารยะหรือแท้ที่จริงแล้วหลักปรัชญาคนจำนวนน้อยมีสิทธิ์อะไรที่จะทำให้คนจำนวนมากต้องเสี่ยงต่อมหันตภัยร้ายแรง