-
ผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม จากการลงทุนถ่านหินของบริษัทไทยในอินโดนีเซีย
เหมืองถ่านหินของบริษัทบ้านปูฯ ซึ่งจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สร้างผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ เป็นรอยแผลที่บาดลึกและยากเกินจะเยียวยาของผู้คนในจังหวัดกาลิมันตัน อินโดนีเซีย ไม่ว่าจะเป็นการทำลายป่า การปนเปื้อนมลพิษในแหล่งน้ำและผืนดิน รวมไปถึงการละเมิดสิทธิชุมชน
-
การปลูกผักสำหรับคนเมือง
หลายคนอาจจะคิดว่าการปลูกผักไว้กินเองที่บ้านเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและจำเป็นต้องใช้พื้นที่บริเวณกว้างในการปลูก แต่ที่แล้วจริงแล้วพืชผักในเมืองไทยปลูกง่ายโตเร็วและที่สำคัญคนเมืองที่มีพื้นที่ไม่มากนักหรืออาจจะมีพื้นที่แค่น้อยนิดเพียงหน้าระเบียงของคอนโดก็สามารถที่จะปลูกผักกินเองได้แล้ว
-
Made in Taiwan
นี่เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและไม่สมควร หากนำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมารวบรวมไว้ด้วยกัน เราจะเห็นภาพที่แตกต่างออกไปโดยสิ้นเชิง ความจริงก็คือการประมงของไต้หวันในระดับโลกนั้นอยู่นอกเหนือการควบคุม กิจกรรมดังกล่าวเชื่อมโยงกับการก่ออาชญากรรมที่ร้ายแรง รวมไปถึงการฆาตกรรม การกดขี่ขูดรีดแรงงานบนเรืออย่างทารุณ
-
8 วิธีปกป้องท้องทะเลง่ายๆ…ที่ใครๆก็ทำได้
ไม่ว่าคุณจะอยู่ใกล้หรือไกลจากทะเล ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราใช้ในชีวิตประจำวันนั้นจะตกลงสู่ทะเลในที่สุด ผ่านทางท่อระบายน้ำ
-
การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่
ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ
-
Nuclear Scars มรดกจากหายนะภัยเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
เมื่อหายนะภัยนิวเคลียร์เกิดขึ้นแล้ว เป็นเรื่องยากแสนเข็ญในการจัดการกับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี รายงานของกรีนพีซระบุว่าการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนไม่สามารถทำได้สมบูรณ์
-
Radiation Reloaded ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิหลังจาก 5 ปีผ่านไป
-
จุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้
โลกของเรากำลังอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้แล้ว เราต้องเลือกระหว่างการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนถ่านหิน น้ำมันและก๊าซ หรือเลือกที่จะเผชิญหน้ากับอนาคตที่มีหายนะจากภาวะโลกร้อนรออยู่
-
ยาฆ่าแมลงและผลกระทบต่อสุขภาพ เมื่อความตระหนักกำลังเพิ่มขึ้น
ยาฆ่าแมลงสังเคราะห์ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการเกษตรระดับอุตสาหกรรมทั่วโลกตั้งแต่ศตวรรษที่ 50 เป็นต้นมา นับแต่ช่วงเวลานั้นสารเคมีหลายชนิดแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมสูงมาก
-
บันทึกประวัติศาสตร์กรีนพีซ
ปัจจุบัน กรีนพีซทำงานรณรงค์ใน 55 ประเทศ และมีสำนักงานประดับประเทศและภูมิภาค 26 แห่งในทวีปยุโรป อเมริกา เอเชีย แอฟริกาและหมู่เกาะแปซิฟิก รวมถึงศูนย์ประสานงาน “กรีนพีซสากล (Greenpeace International)” ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์