-
ในวาระครบรอบหายนะภัยฟุกุชิมะ รัฐบาลญี่ปุ่นให้ผู้คนกลับถิ่นฐานเดิมที่ยังคงปนเปื้อนรังสี
ปี2560 เป็นปีแรกที่มีการเปิดพื้นที่ที่เคยปนเปื้อนรังสีอย่างหนักในเขตอันตรายห้ามเข้า ที่เรียกว่า แอเรีย 1 และ 2 (Area 1, 2) ให้ประชาชนกลับเข้าไปอยู่อาศัยเช่นเดิม
-
ไม่อาจกลับคืนเป็นอย่างเดิม : หายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
กรณีศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการรับรังสีนิวเคลียร์ตลอดช่วงชีวิตในพื้นที่อิตาเตะ จังหวัดฟุกุชิมะ
-
EIA-EHIA ถ่านหินฉบับรัฐบาล คสช.
การประกาศใบแดงให้กับ EHIA ในครั้งนี้สะท้อนถึงความล้มเหลวของการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ครั้งแรกของประเทศไทยที่รัฐบาลยอมรับท่ามกลางการต่อสู้เพื่อปฎิรูปกระบวนการจัดทำรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการขับเคลื่อนมายาวนานกว่า5ปี โดยที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐเพิกเฉยต่อข้อเสนอเหล่านั้นมาโดยตลอด
-
อัปยศ! วันที่ผู้นำประเทศไทยเลือกเดินหน้าถ่านหิน
หลังจากชุมชนท้องถิ่นและภาคประชาชนขับเคลื่อนเพื่อคัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่มาเป็นเวลากว่า 3 ปี ในที่สุดพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) อนุมัติให้เดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่แล้ว ท่ามกลางเสียงคัดค้านของประชาชนที่มารอฟัง ซึ่งไม่เห็นด้วยและกังวลต่อผลกระทบของโครงการ
-
โรงไฟฟ้าถ่านหินและระบบผูกขาดพลังงานของไทย
การสั่งเดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่สะท้อนให้เห็นระบบผูกขาดพลังงานของประเทศอย่างเหนียวแน่นและยังอยู่ในภาวะยุคมืดอีกหลายปีนับจากนี้
-
ถุงพลาสติกใบนี้…ควรฟรีหรือ (บังคับ) จ่าย
คงผ่านหูผ่านตากันมาบ้างกับโครงการ “รวมพลังสร้างวินัย ลดใช้ถุงพลาสติก” ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.)
-
“ถ่านหิน-ไฟฟ้า-ทรัพยากร” อะไรคือทางออกของปัญหา?
ในช่วงเวลาที่ทั่วโลกต่างหันมาเดินหน้าเพื่อลดก๊าซเรือนกระจกต้นเหตุของวิกฤตโลกร้อนและภัยพิบัติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ภาครัฐของไทยยังทำให้คนไทยรอคอยเก้อ
-
พลาสติกน้อยลง ชีวิตแฮปปี้มากขึ้น
หลายครั้งที่คิดว่าจะลดขยะ โดยเฉพาะพวกพลาสติก แต่สุดท้ายมักจะเป็นการฮึบแค่ไม่กี่สัปดาห์ แล้วความเคร่งครัดใน Resolution นี้ก็จะหายไปเนี่ยนๆโดยไม่มีใครกล่าวอะไร แต่กระนั้นก็มีอีกหลายคนที่ทำได้ และทำไปเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง หนึ่งในคนเหล่านั้นคือคุณ ฐิตินันท์ ศรีสถิต นักเขียนอิสระ ผู้ใช้ชีวิตลดพลาสติกมาแล้วถึง 10 ปี
-
ลองถาม 7 คำถามนี้ก่อนกินอาหารทะเล
หากกล่าวว่าตนเองเป็นคนรักอาหารทะเลในยุคนี้แล้วล่ะก็ เราคงจะต้องระแวดระวังและเลือกสรรค์ในการกินสักนิด เพราะมหาสมุทรของเรากำลังเหลือปลาน้อยลงไปทุกที ไม่ว่าจะเป็นด้วยสาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอกาศที่ส่งผลต่อแนวปะการัง มลพิษทางทะเลที่ส่งผลร้ายต่อสัตว์น้ำ และเรืออวนลากขนาดมหึมาที่กวาดเอาปลาจำนวนหลายต่อหลายตันต่อวัน และยิ่งยังมีประเด็นเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชนบนเรือประมงพาณิชย์ ด้วยปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้อาจทำให้เราหมดความอยากกินอาหารทะเลไป เรียกว่า การกินอาหารทะเลแต่ละครั้งอาจจะเป็นความสุขที่ปนอยู่บนการรู้สึกผิดลึก ๆ
-
รายงานการจัดอันดับความยั่งยืนปลาทูน่ากระป๋องปี พ.ศ.2559
จากทะเลสู่กระป๋อง: 2559 การจัดอันดับความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ปลาทูน่ากระป๋องในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้