-
พลังมวลชนและความสำเร็จที่มีต่อบริษัทผลิตทูน่ารายใหญ่ที่สุดของโลก
นี่คือห้วงเวลาที่สำคัญของมหาสม…
-
การเปลี่ยนแปลงของไทยยูเนี่ยนจากการผลักดันของคนทั่วโลก มีผลอย่างไรต่อมหาสมุทร
จากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องของกรีนพีซในช่วงสองปีที่ผ่านมา และเสียงสนับสนุนจากคนทั่วโลกราว 700,000 คน ที่ร่วมกันผลักดัน ในที่สุด วันนี้เรามีข่าวดีมาบอก …
-
ข้อตกลงระหว่างกรีนพีซและบริษัทไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป
ระบบนิเวศทางทะเลตกอยู่ในภาวะอันตรายอันเนื่องมาจากการประมงเกินขนาด รวมถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ อุตสาหกรรมอาหารทะเลทั่วโลกต้องดําเนินการแก้ไขและจัดการกับปัญหาที่เร่งเร้าให้เกิดการประมงเกินขนาดและคุกคามวิถีชีวิตของผู้คนนับล้านคนที่ต้องพึ่งพาท้องทะเล
-
ไทยยูเนี่ยนให้คำมั่นต่อการผลิตอาหารทะเลที่ยั่งยืนและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
กรุงเทพฯ, 11 กรกฎาคม 2560 - บริษัทไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ให้คำมั่นต่อมาตรการที่จะขจัดการประมงผิดกฎหมาย (illegal fishing) และการประมงเกินขนาด (overfishing) และปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของแรงงานนับแสนคนตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานของบริษัท
-
ฝุ่นพิษจิ๋ว PM2.5 ภัยที่มองไม่เห็น
ทุกเช้า ฉันต้องเดินไปสถานีรถไฟใต้ดินเพื่อไปเรียน และทุกๆวัน จะมีรถเมล์สาย 54 วิ่งผ่านโดยทิ้งควันดำตามหลังมาไว้ให้ฉันสูด และทุกๆครั้ง มันทำให้ฉันสงสัยว่า “ในแต่ละวัน เราหายใจอะไรเข้าไปบ้าง”
-
จดหมายเปิดผนึกถึงกรมควบคุมมลพิษ ว่าด้วยร่างแผนยุทธศาสตร์การจัดการคุณภาพอากาศ 20 ปี(พ.ศ.2560-2579)
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในฐานะองค์กรรณรงค์อิสระด้านสิ่งแวดล้อมและทำงานรณรงค์ “ขออากาศดีคืนมา” มีความคิดเห็นต่อร่างยุทธศาสตร์การจัดการคุณภาพอากาศ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ดังต่อไปนี้
-
โซลาร์รูฟท็อป จากสหรัฐอเมริกาถึงไทย
กลายเป็นประเด็นร้อนบนโซเชียลมีเดียขึ้นมาเมื่อทางคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน(กกพ.) ได้มอบหมายให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) ศึกษาอัตราการเรียกเก็บเงินจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา(โซลาร์รูฟท็อป)เสรี แบบรายเดือนที่เหมาะสมทั้งกลุ่มบ้านเรือนที่อยู่อาศัยและกลุ่มโรงงาน เพื่อนำเงินมาช่วยลดภาระค่าไฟฟ้าประชาชนที่ใช้ไฟฟ้าปกติ
-
มรดกแห่งเจริญ 16 ปีแห่งการจากไป ก่อกำเนิดอีกหลายร้อยความเข้มแข็งในชุมชนประจวบฯ
เสียงปืน 9 นัดจากปืนสองกระบอก ในคืนวันที่ 21 มิถุนายน 2547 ที่ปลิดชีวิตนักสู้เพื่อชุมชนที่ชื่อเจริญ วัดอักษร ยังคงดังก้องในใจชาวประจวบคีรีขันธ์ และชาวไทยผู้รักสิ่งแวดล้อมทั้งประเทศ ปีนี้เป็นปีที่ 13 แล้วที่เจริญ วัดอักษร นักสู้เพื่อชุมชนกลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอก ผู้คัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน ได้จากไป การสูญเสียนักสู้คนสำคัญของประจวบฯ ไม่ได้นำมาสู่จุดสิ้นสุดของการต่อสู้เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม แต่กลับยิ่งก่อให้เกิดนักสู้แห่งประจวบคีรีขันธ์อีกหลายร้อยคน สานต่อความเข้มแข็งในชุมชนไม่เสื่อมคลาย
-
พลังงานนิวเคลียร์และการล่มสลายของสังคม
เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2497 บนเกาะบิกินี่ อะทอลล์ (Bikini Atoll) เกาะที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะมาร์แชลล์ เป็นเกาะที่กองทัพสหรัฐได้ปล่อยระเบิดไฮโดรเจนลูกแรกของโลก ซึ่งมีอานุภาพรุนแรงกว่าระเบิดที่ฮิโรชิมะและนางาซากิกว่าพันเท่า กัมมันตรังสีถูกพัดพาลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และทำให้ประชาชนของเกาะ Rongelap และ Utirik และลูกเรือ Fukuryu Maru ถูกอาบรังสี