• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Cans for recycling, Camden recycling centre, North London. © Amanda Gazidis / Greenpeace
    พลาสติก
    ไลฟ์สไตล์ หลักจัดการขยะ7R

    แนวทางและตัวอย่างการจัดการขยะในชุมชนสู่อนาคตสีเขียว

    “คนเกาะสมุยประท้วงยืดเยื้อปิดถนนทางเข้าออกโรงเผาขยะเนื่องจากเตาเผาเสียจนมีกองขยะที่ไม่ได้กำจัดมาร่วม 2 ปี ส่งกลิ่นเหม็นรุนแรงและมีน้ำเน่าเสียไหลสู่แหล่งน้ำชุมชุน” ถึงแม้จะดำเนินการซ่อมโรงงานเผาขยะเจ้าปัญหาที่สมุยเรียบร้อยแล้ว แต่ประเด็นปัญหานี้ยืดเยื้อมานานถึงสองปีกว่าจะได้รับการแก้ไข ขณะที่ปัญหาเก่าดูเหมือนจะถูกแก้ไปอย่างขอไปที   โรงงานเผาขยะแห่งใหม่ก็กำลังจะเกิดขึ้นที่กรุงเทพฯ อะไรคือทางออกของปัญหาขยะกันแน่ในเมื่อโรงงานเผาขยะเป็นเตาเผาแห่งมลพิษอันไม่รู้จบ การจัดการขยะที่ต้นทางฟังดูเหมือนจะเป็นโครงการในฝัน แต่อันที่จริงนั้นไทยเองก็มีศักยภาพในการดำเนินการไม่แพ้ประเทศใดในโลก รวมถึงมีตัวอย่างของชุมชนที่นำหลักการนี้มาใช้จริงและประสบความสำเร็จแล้วด้วยการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนดังต่อไปนี้ การคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด หัวใจสำคัญของการแก้ปัญหาขยะที่ทุกคนสามารถทำได้นี้เป็นสิ่งที่ ชุมชนบ้านพักทหารหนองไผ่ล้อม ของกองทัพภาคที่ 2นำมาใช้และจัดการคัดแยกขยะอย่างเป็นระบบ โดยคัดแยกขยะมูลฝอยออกเป็นขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย และดำเนินการรีไซเคิลครบวงจรอย่างมีประสิทธิภาพ ถือหลักการกำจัดขยะจากแหล่งกำเนิดต้นทาง ลดปริมาณขยะ และนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเรียกว่าขยะรีไซเคิล  เป็นการเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย เช่นเดียวกับที่ ชุมชนอยู่เย็น อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี  ซึ่งนำเอาโครงการชุมชนปลอดขยะ…

    Greenpeace Thailand •
    22 February 2013
    5 min read
  • พลาสติก
    หลักจัดการขยะ7R EPR

    ความล้มเหลวของการบริหารจัดการขยะในกรุงเทพฯ

    คงมีน้อยคนนักที่จะรู้สึกแปลกใจกับชื่อหัวข้อ "ความล้มเหลวของการบริหารจัดการขยะในกรุงเทพฯ" เพราะปัญหา "ขยะ" กับกรุงเทพมหานครอยู่คู่กันมานับตั้งแต่อดีต และยังเป็นเรื่องท้าทายและส่งเสียงเรียกร้องจากประชาชนตลอดทุกยุคทุกสมัยที่จะมีการเปลี่ยนแปลงผู้ว่าฯ

    Greenpeace Thailand •
    5 February 2013
    12 min read
  • Samui Solid Waste Incineration Plant in Thailand. © Greenpeace / Yvan Cohen
    พลาสติก
    หลักจัดการขยะ7R EPR PRTR มลพิษทางอากาศ

    โรงงานเผาขยะ ประตูสู่มลพิษของการกำจัดขยะประเทศไทย

    ปริมาณขยะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี เพียงแค่ภายในช่วงสิบปีที่ผ่านมาขยะในประเทศมีปริมาณเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 1 ล้านตัน นับจากปี พ.ศ. 2544 หรือสามารถบอกได้ว่า โดยเฉลี่ยแล้วแต่ละคนจะสร้างขยะเกือบ 1 กิโลกรัม ต่อวัน

    Greenpeace Thailand •
    5 February 2013
    6 min read
  • Black Thunder Coal Mine in USA. © Greenpeace / Tim Aubry
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    เมื่อถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ

    โลกของเรากำลังเดินมาถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ และเราจำเป็นต้องป้องกันผลกระทบที่ร้ายแรงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หากยังปล่อยให้เป็นเช่นนี้ต่อไปจะยิ่งทำให้ยาก หรือแม้แต่แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันภัยพิบัติในวงกว้างของสภาวะโลกร้อน คงจะมีมูลค่าความเสียหายมหาศาล

    Greenpeace Thailand •
    28 January 2013
    8 min read
  • พลาสติก
    ไลฟ์สไตล์ ฟาสต์แฟชั่น

    สารพิษในเส้นใย เงื่อนงำที่ซุกซ่อนในเสื้อผ้า

    สายน้ำถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สำหรับวัฒนธรรมของประเทศเม็กซิโก แต่กระนั้นสภาพแวดล้อมของแหล่งน้ำกลับถูกคุกคาม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากมลพิษที่ส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อนกับภาวะขาดแคลนแหล่งน้ำสำหรับการอุปโภคบริโภค 

    Greenpeace Thailand •
    6 December 2012
  • พลาสติก
    ไลฟ์สไตล์ ฟาสต์แฟชั่น

    สารพิษในเส้นใย: แฟชั่นระดับโลกและการผลิต

    กรีนพีซสากลได้จัดทำการสำรวจครั้งใหม่ซึ่งเจาะลึกเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายที่ใช้ในการผลิตเสื้อผ้าแฟชั่นโดยได้ขยายขอบเขตการสำรวจให้ครอบคลุมผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นทั่วโลกกว่า 20 ยี่ห้อ อาทิ อามานี่ (Armani) ลีวายส์ (Levi’s) และซาร่า (Zara) และตรวจสอบหาสารเคมีอันตรายที่ครอบคลุมมากชนิดกว่าเดิม

    Greenpeace Thailand •
    20 November 2012
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    โซลาร์เซลล์ กังหันลม หรือทั้งสองอย่าง

    โซลาร์เซลล์ กังหันลม หรือทั้งสองอย่าง เราจะเลือกใช้อะไรดีกับที่บ้าน หรือชุมชน พลังงานหมุนเวียนไม่ใช่เพียงแค่ความเพ้อฝัน แต่เป็นสิ่งที่สามารถนำมาใช้ได้จริง แต่แบบไหนที่เหมาะกับการใช้งานของเรา?

    Greenpeace Thailand •
    17 August 2012
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    พลังงานหมุนเวียนเป็นเรื่อง “ขี้ๆ”

    พลังงานหมุนเวียนไม่ได้มีแค่เพียงพลังงานแสงแดด พลังงานลม และพลังงานน้ำเท่านั้น แต่ยังมีอีกหนึ่งแหล่งพลังงานทางธรรมชาติที่สามารถหาได้ง่าย และทุกคนทุกครัวเรือนต้องมีกันอย่างแน่นอน คือ พลังงานก๊าซชีวภาพจากของเสียในบ้านของตนเอง

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    15 August 2012
    6 min read
  • Climate Rescue Station in Bangkok. © Jonas Gratzer / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    พลังงานหมุนเวียน เรื่องจริงที่ไม่ใช่เพียงเพ้อฝัน

    การเปลี่ยนพลังงานต่างๆ ผ่านอุปกรณ์อย่างโซลาร์เซลล์ กังหันลม และกังหันน้ำนั้นฟังดูเหมือนเป็นเพียงเทคโนโลยีในฝันที่ไกลเกินเอื้อม แท้ที่จริงแล้วพลังงานหมุนเวียนไม่ใช่เรื่องใหม่เลย แต่เป็นความจริงที่เกิดขึ้นและสามารถใช้ได้จริงแล้ว

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    6 August 2012
    5 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    เราได้อะไรจากกฏหมายพลังงานหมุนเวียน (ฉบับย่อ)

    ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทดแทนอะไรได้บ้าง ? ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าถ่านหินส่งผลเสียอย่างไร ? ประสิทธิภาพของกฏหมายพลังงานหมุนเวียนทั่วโลก ? และคำถามอื่นๆ มีคำตอบอยูที่นี่

    Greenpeace Thailand •
    1 August 2012
Prev
1 … 147 148 149 150 151 … 153
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้