• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • บทความ
    คนและสังคม ค่าไฟ การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    เรากำลังสูญเสียสิ่งที่เราดูแลมาทั้งชีวิตไป

    เสียงสะท้อนจากพี่น้องชุมชนเกาะขนุน จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ต้องต่อสู้กับคำว่า “เราต้องทำเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมทั้งประเทศ” ที่ภาครัฐผลักดันโครงการวางระบบโครงข่ายไฟฟ้าแรงสูง เพื่อรองรับโครงการโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิลของบริษัท บูรพาพาวเวอร์ โดยคนในพื้นที่แทบไม่มีส่วนรับรู้หรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ มาก่อน

    Noon Manun Wongmasoh •
    11 April 2025
    14 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ชุมชนเกาะขนุนรวมพลัง! ยื่นค้านโครงการสายส่งโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล หวั่นกระทบที่ดินทำกินกว่า 500 ไร่

    พี่น้องที่ได้รับผลกระทบจากโครงการประกาศกำหนดเขตระบบโครงข่ายไฟฟ้าโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ได้เข้ามาดำเนินการสำรวจที่ดินเบื้องต้นในพื้นที่ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

    เครือข่ายคัดค้านระบบโครงข่ายไฟฟ้า •
    2 April 2025
    5 min read
  • Greenpeace -Energy Transffer Trial Ends in North Dakota. © Stephanie Keith / Greenpeace
    กรีนพีซ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เกี่ยวกับเรา

    คณะลูกขุนตัดสินให้กรีนพีซชดใช้ความเสียหายกว่า 660 ล้านเหรียญสหรัฐ ในคดี SLAPP ของเอนเนอร์จี ทรานส์เฟอร์

    แมนดาน, นอร์ทดาโคตา, สหรัฐอเมริกา — คณะลูกขุนจากมณฑลมอร์ตัน จำนวนเก้าคน มีคำตัดสินในคดีที่บริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ (Energy Transfer) ยื่นฟ้องต่อกรีนพีซ สหรัฐฯ (Greenpeace Inc, Greenpeace Fund) และ กรีนพีซ สากล โดยตัดสินให้องค์กรต้องชดใช้ค่าเสียหายมากกว่า 660 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ มากกว่า 22,000 ล้านบาท

    Greenpeace International •
    20 March 2025
    3 min read
  • กรีนพีซ
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ระบบนิเวศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    กรีนพีซกังวล ‘อันตรายจากสารพิษหลายชนิด’ จากเหตุเรือชนกันในทะเลเหนือ

    กรีนพีซแสดงความกังวลเกี่ยวกับภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล อันเนื่องมาจากสินค้าและน้ำมันเตา (Bunker fuel) ของเรือบรรทุกสารเคมีและเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์เกิดอุบัติเหตุชนกันนอกชายฝั่งยอร์กเชียร์ (Yorkshire) ของอังกฤษ ใกล้กับพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมสูง

    Greenpeace UK •
    12 March 2025
    2 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    นิวเคลียร์

    แถลงการณ์กรีนพีซ : ครบรอบ 14 ปี อุบัติภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ

    ครบรอบ 14 ปี หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์อุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ตามมา กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ประสบภัยและครอบครัวที่ยังคงต้องทนทุกข์หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่นี้

    Greenpeace International •
    11 March 2025
    4 min read
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
    ฝุ่นข้ามพรมแดน ปฏิวัติระบบอาหาร อากาศสะอาด

    ไทยติดอันดับ 6 ประเทศที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามรายงาน IQAir ปี 2567

    ตามรายงานคุณภาพอากาศโลกประจำปี 2567 โดย IQAir ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 6 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุด

    IQAir •
    11 March 2025
    5 min read
  • Protest at the Fossil Gas Platform in the Gulf of Thailand. © Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    การขุดเจาะก๊าซฟอสซิลเร่งเร้าวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    กระบวนการผลิตจนถึงการบริโภคก๊าซฟอสซิลที่ถูกตั้งชื่อให้ดูเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมว่า “ก๊าซธรรมชาติ” กลับส่งผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมต่อชุมชนผู้มีรายได้น้อย กลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองชาติพันธุ์ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก

    Noon Manun Wongmasoh •
    10 March 2025
    10 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล มลพิษทางอากาศ

    โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล แหล่งกำเนิดมลพิษ PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่ถูกมองข้าม

    ทุกๆ ปี พื้นที่กรุงเทพมหานครกำลังเผชิญกับวิกฤตมลพิษทางอากาศอย่างรุนแรง โดยเฉพาะมลพิษ PM 2.5 ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชน งานวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นถึงถึงบทบาทสำคัญของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิลที่มีส่วนทำให้เกิดมลพิษโดยเฉพาะการปล่อยไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO₂) และออกไซด์ของไนโตรเจนอื่นๆ (NOₓ)

    ชื่นชม สง่าราศี กรีเซน •
    26 February 2025
    11 min read
  • Global Week of Action - Solidarity against Energy Transfer Lawsuit in Prague. © Ray Baseley / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    กรีนพีซเข้าร่วมการพิจารณาคดี SLAPP หลังบริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ ยื่นฟ้องในศาล

    ตัวแทนจากกรีนพีซสากล (Greenpeace International) และกรีนพีซสองแห่งในสหรัฐอเมริกาเดินทางถึงศาลมอร์ตันเคาน์ตีในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ เพื่อต่อสู้กับคดีฟ้องร้องที่ปราศจากมูลความจริง ซึ่งถูกยื่นฟ้องโดยบริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ (ET)

    Greenpeace International •
    24 February 2025
    4 min read
  • Projection Photo Booth with Climate Impacts at COP29 in Baku. © Marie Jacquemin / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    UNFCCCOP การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    น่าห่วง ! หลายประเทศเมินกำหนดส่งแผนปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศปี 2578

    ประเทศผู้ก่อมลพิษหลักบางประเทศพลาดกำหนดเส้นตายการส่ง ‘แผนการด้านสภาพภูมิอากาศ 2578’  ให้กับองค์การสหประชาชาติ (United Nations) ก่อนการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศโลกครั้งที่ 30 (COP30) ที่จะเกิดขึ้นที่บราซิลในปีนี้

    Greenpeace International •
    10 February 2025
    2 min read
Prev
1 2 3 4 … 52
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้