-
จับเข่าคุยกับช่างภาพ เมื่อต้องถ่ายภาพที่สื่อถึง ‘การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ’
ในวันถ่ายภาพโลก (World Photography Day) เราได้พูดคุยกับช่างภาพและบรรณาธิการ เกี่ยวกับไอเดียที่ว่าเราจะสามารถเล่าเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมผ่านภาพถ่ายได้อย่างไรบ้าง ที่จะทำให้ผู้คนได้เห็นว่าผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเรื่องที่ควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน
-
ไม่ควรจะมีใครถูกบังคับให้สูญหายจากการเรียกร้องสิทธิทางสิ่งแวดล้อม
กี่ชีวิตมาแล้วที่ต้องร่วงหล่นสูญหายจากการปกป้องชุมชนและสิ่งแวดล้อม
-
คำประกาศ ความหวังและทิศทางของสังคมไทยต่อการกู้วิกฤติสภาพภูมิอากาศ
Thai Climate Justice for All (TCJA) เครือข่ายที่รวมประชาสังคมกลุ่มต่างๆ รวมตัวกันศึกษาขับเคลื่อนต่อสู้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยมีเป้าหมายที่จะระดมพลังครั้งใหญ่ขับเคลื่อนสังคมในต่อสู้กับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างมีความหวัง
-
หลากรสชาติที่กำลังหายไป : อาหาร 5 ชนิดที่เผชิญวิกฤตสภาพภูมิอากาศเข้าอย่างจัง
วิกฤตสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามต่ออาหารที่เราโปรดปราน 5 ชนิด ในอนาคตอันใกล้ อาหารที่ชาวฮ่องกงชอบ และอยู่ในชีวิตประจำวันอาจจะกลายเป็นส่วนหนึ่งในคอลเลคชั่น ‘พิพิธภัณฑ์อาหาร’ แทน
-
ทำไมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์สุทธิและชดเชยคาร์บอนไม่ช่วยกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
การตั้งเป้าหมายก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์สุทธิเกิดขึ้นแทบจะเป็นรายวัน แผนการนี้ทึกทักว่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเผาไหม้ถ่านหินจะชดเชยด้วยการดูแลป่าหรือปลูกป่าในเวลาจริง โดยละเลยความจริงที่ว่าต้นไม้ใช้เวลาเติบโต ในขณะที่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานฟอสซิลนั้นเห็นผลในทันที
-
แนะนำ 9 หนังสิ่งแวดล้อมสำหรับ Watch From Home
เราอยากชวนมาดูหนังเพื่อเปิดมุมมองที่หลากหลายไปกับภาพยนตร์และสารคดีเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่สามารถดูได้จากที่บ้านคุณ ที่ชวนให้เราตั้งคำถามต่อสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน
-
นโยบาย Net Zero Emission ของไทยจะเป็นเพียงหน้าไหว้หลังหลอกหรือไม่?
หนึ่งในไฮไลท์จากมติที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในวันที่ 4 สิงหาคม 2564 ที่ผ่านมา คือ การเห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติ (National Energy Plan) ซึ่งได้กำหนดแนวนโยบายภาคพลังงาน โดยมีเป้าหมายสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถมุ่งสู่พลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์) สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายใน ค.ศ. 2065-2070 (พ.ศ.2608-2613)
-
โตเกียวโอลิมปิกบอกอะไรเราบ้างเกี่ยวกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เชื่อว่าหลายๆคนคงได้ดูโตเกียวโอลิมปิก แต่ดูเหมือนว่าเหรียญทองที่ญี่ปุ่นอยากเอาชนะในการจัดการแข่งขันนี้ คือ ‘สภาพอากาศที่ร้อนชื้นที่สุดในประวัติศาสตร์โอลิมปิก’ การวิเคราะห์ล่าสุดจากกรีซพีซเอเชียตะวันออกพบว่ามีอุณหภูมิสูงขึ้นในโตเกียว ปักกิ่ง และโซล รวมถึงอีกกว่าสิบเมืองทั่วเอเชีย นี่คือ #วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
รายงาน IPCC เตือนให้รัฐบาลทั่วโลกลงมือทำทันทีเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ ก่อนที่จะสายเกินไป
รายงานคณะทำงานที่ 1 เรื่อง “พื้นฐานวิทยาศาสตร์กายภาพ(the Physical Science Basis)” อันเป็นส่วนหนึ่งของรายงานการประเมินครั้งที่ 6 (the Sixth Assessment Report) ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) จัดทำโดย นักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศชั้นนำของโลก สรุปถึงความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดว่า เกิดอะไรขึ้นกับระบบสภาพภูมิอากาศของโลก และเป็นคำเตือนที่ชัดเจนว่าเรากำลังจะมุ่งหน้าไป ณ ที่ใด หากไม่ลงมือทำอย่างเร่งด่วน
-
สรุปสถานการณ์สภาพภูมิอากาศ “เรากำลังมาถึงจุดวิกฤต”
ในครึ่งปีแรกของปี 2564 นอกจากสถานการณ์โรคระบาดที่ย่ำแย่ สภาพอากาศที่รุนแรงสุดขั้วซึ่งเป็นผลจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศก็ทวีความรุนแรงยิ่งกว่าปีก่อนๆที่ผ่านมา