• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Global Climate Strike in Bangkok. © Chanklang  Kanthong / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน

    ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง

    จริยา เสนพงศ์ •
    10 November 2021
    5 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ปฏิวัติระบบอาหาร

    COP26 ควรจะให้ความสำคัญกับการลดการลงทุนอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์

    แม้ว่า COP26 ที่กลาสโกว์ จะไม่ได้กำหนดให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นหนึ่งใน 4 เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดเป็นรูปธรรม แต่การที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึงร้อยละ 19 ของการปล่อยเรือนกระจกทั้งหมดทั่วโลกตามข้อมูลล่าสุดของรายงาน IPCC เราจะมาสำรวจประเด็นดังกล่าวนี้กัน

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    10 November 2021
    5 min read
  • กรีนพีซ
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    กรีนพีซย้ำ การวิเคราะห์ล่าสุดของ Climate Action Tracker ชี้ถึงอนาคตที่เป็นหายนะ

    การวิเคราะห์ของ The Climate Action Tracker พบว่า เมื่อพิจารณาจากแผนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2573 ของรัฐภาคีสมาชิกทั้งหมดภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะยังคงเพิ่มขึ้นเป็น 2.4 องศาเซลเซียสในปี 2643 จากการวิเคราะห์ถึงปฏิบัติการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แต่ละประเทศทั่วโลกลงมือทำจริงๆ (ไม่ใช่แผนงานบนแผ่นกระดาษ) อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกจะเพิ่มขึ้นไปอีกเป็น 2.7 องศาเซลเซียสในปี 2643

    Greenpeace Thailand •
    10 November 2021
    2 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    คนและสังคม การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเติมเชื้อไฟการเหยียดเชื้อชาติหรือไม่

    จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลกระทบถึงผู้คนทั่วโลก แต่คนผิวสีมักเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติธรรมชาติ คนผิวสีมีเปอร์เซ็นต์ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติมากกว่า อาทิ อุทกภัย คลื่นความร้อน ภัยแล้ง ไฟป่า ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น หากวิกฤตการณ์รุนแรงขึ้น สถานการณ์ของคนกลุ่มนี้จะเลวร้ายลงไปอีก แล้วเช่นนี้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเติมเชื้อไฟการเหยียดเชื้อชาติหรือไม่?

    Greenpeace Thailand •
    9 November 2021
    5 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล

    กรีนพีซตอบโต้ – ร่างแรกของความตกลงกลาสโกว์มีเนื้อหาที่ “ไม่หนักแน่นอย่างยิ่ง” และไม่เอ่ยอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล

    ร่างแรกของเนื้อหาการตัดสินใจ (decision text) ของความตกลงกลาสโกว์ไม่มีการอ้างถึงการปลดแอกเชื้อเพลิงฟอสซิล - แย้งกับคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ

    Greenpeace International •
    9 November 2021
    7 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    Net Zero Emission : ถอดรหัสถ้อยแถลงของรัฐบาลไทยที่ COP26 กลาสโกว์

    ถอดรหัสถ้อยแถลง Net Zero Emission ของรัฐบาลไทยใน COP26 ที่กำกวมและขาดความชัดเจน เพื่อทำความเข้าใจต่อจุดยืนและบทบาทของประเทศไทยในเรื่องปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ

    ธารา บัวคำศรี •
    8 November 2021
    7 min read
  • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    กรีนพีซสรุปความคืบหน้าช่วงสัปดาห์แรกของ COP26

    ทั้งด้านในและด้านนอกเวทีการประชุม COP26 เสียงจากประเทศต่างๆ และชุมชนที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศมีพลังเพิ่มขึ้นและเรียกร้องให้ผู้นำโลกลงมือทำ

    Greenpeace International •
    7 November 2021
    17 min read
  • กรีนพีซ
    ความหลากหลายทางชีวภาพ
    ป่าไม้ ระบบนิเวศ การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    กรีนพีซบราซิลประณามความตกลงใหม่ด้านป่าไม้ใน COP26 ชี้ว่าจะเปิดช่องทางล้างผลาญผืนป่าทั่วโลกไปอีกนับทศวรรษ

    การประชุมสมัชชารัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) มีการประกาศความตกลงด้านป่าไม้หลายรูปแบบ และหนึ่งในนั้นคือ ความตกลงระหว่างกลุ่มรัฐบาลประเทศต่าง ๆ รวมถึงรัฐบาลบราซิลเพื่อยุติการทำลายป่าภายในปี 2573 แต่กรีนพีซเห็นว่าความตกลงดังกล่าวนี้เป็นใบอนุญาตที่นำไปสู่การทำลายป่าไม้ต่อไปอีกนับทศวรรษ

    Greenpeace Thailand •
    1 November 2021
    4 min read
  • Plastic Wave in Zagreb. © Nevio  Smajic / Greenpeace
    พลาสติก
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ ผลกระทบจากพลาสติก

    กรีนพีซร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมของเครือข่ายกายา(GAIA) เรียกร้อง UNFCCC ยกระดับแผนการ zero waste ให้ตรงจุดเพื่อชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศและยกระดับคุณภาพชีวิต

    กรีนพีซร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมของกายา (Global Alliance for Incinerator Alternatives-GAIA) ร่วมกับเครือข่ายองค์กรทั่วโลก เพื่อเรียกร้องให้การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ(UNFCCC) ปฏิเสธแผนการแก้ปัญหาการชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่ไม่ตรงจุด

    Greenpeace Thailand •
    30 October 2021
    3 min read
  • กรีนพีซ
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    COP26 : บททดสอบสำหรับมนุษยชาติ ถึงเวลาลงมือทำ

    COP26 คือบททดสอบสำหรับเราในฐานะมนุษย์ การประชุมครั้งนี้เป็นห้วงเวลาทางการเมืองครั้งใหญ่สุดในวิกฤตสภาพภูมิอากาศนับตั้งแต่การประชุมเจรจาในกรุงปารีสเมื่อ 6 ปีก่อน ในขณะที่ความตกลงปารีสตั้งเป้าหมายเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม กลาสโกว์เป็นสถานที่ซึ่งประชาคมโลกต้องตกลงว่าจะบรรลุเป้าหมาย 1.5 องศาเซลเซียสอย่างไร

    Greenpeace Thailand •
    29 October 2021
    5 min read
Prev
1 … 22 23 24 25 26 … 39
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้