-
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
ความเห็นของกรีนพีซประเทศไทยต่อกรอบท่าทีการเจรจาของไทยใน COP26
-
เอกสารลับแฉ! กลุ่มประเทศผู้ผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลตีกลับแผนปฏิบัติการสภาพภูมิอากาศในรายงาน IPCC
รายงานข่าวจากอันเอิร์ธ เปิดเผยเอกสารรั่วไหลที่ระบุว่า กลุ่มประเทศผู้ผลิตถ่านหิน เนื้อสัตว์เชิงและอาหารสัตว์ส่วนหนึ่งพยายามลบผลการค้นพบในรายงานด้านสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติ (UN)
-
สรุปจากเสวนา ‘นายกฯ ไป COP26 = สภาพพ!!’
เสวนาที่ชวนตัวจริงในวงการมาแลกเปลี่ยนกันว่าเมื่อนายกฯ ไทย กำลังจะไปประชุม COP26 จะเป็นอย่างไร
-
6 ข้อที่เราต้องลงมือทำเพื่อกู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ!
ในปัจจุบันนี้ข้อมูลวิทยาศาสตร์ได้อธิบายไว้ทั้งหมดแล้วว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นจริง และตอนนี้ก็กำลังรุนแรงขึ้น ดังนั้น การลงมือทำเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศจึงเป็นสิ่งจำเป็น
-
หรือนี่คือยุคทองของ “การฟอกเขียว”
คำว่า “การฟอกเขียว” เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 - 2533 ซึ่งเป็นช่วงที่ภัยพิบัติทางธรรมชาติและวิกฤตสภาพภูมิอากาศเริ่มเข้ามาเป็นประเด็นถกเถียงกระแสหลัก
-
สรุปเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครจะปลดระวางก่อน’ #ปลดระวางถ่านหิน
สรุปจากเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครปลดระวางก่อนกัน?’ วงพูดคุยที่ชวนตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ คนทำงานด้านกฎหมาย นักวิจัยนโยบาย และกรีนพีซ มาร่วมกันพูดคุยถึงปัญหา การต่อสู้ ระหว่างกระบวนการการที่ออกแบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมถ่านหิน
-
ประชากร 61 เมืองใหญ่ทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากถ่านหิน
รายงานจากเครือข่าย C40 Cities Climate Leadership Group ระบุว่าจากแบบจำลองและวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของถ่านหินต่อสุขภาพของประชากรในเมืองใหญ่ใน 61 เมืองทั่วโลกในช่วงปี 2563-2573
-
เฮอริเคนไอดาในนิวยอร์ก สัญญาณเตือน วิกฤตสภาพภูมิอากาศ เข้าใกล้เรามากขึ้น
หลังเฮอริเคนไอด้าพักถล่มมหานครนิวยอร์กแสดงให้เห็นถึงผลกระทบจากเฮอริเคนต่อระบบสาธารณูปโภคและการคมนาคม อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นอีกว่าโลกของเรายังไม่พร้อมที่จะรับมือกับภัยพิบัติที่จะเกิดบ่อยและรุนแรงขึ้นจากสภาพอากาศแปรปรวนสุดขั้วซึ่งมีสาเหตุจากการนำเชื้อเพลิงฟอสซิลมาใช้ เป็นตัวการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
-
การเดินขบวนไพรด์คือการประท้วง!
กลุ่ม LGBTQIA+ มักได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศเสมอ ที่ใดที่วิกฤตสภาพภูมิอากาศทำให้เกิดภัยพิบัติ ที่นั่นการกดขี่สิทธิมนุษยชนของ LGBTQIA+ จะเพิ่มขึ้น เช่น LGBTQIA+ ที่ฟิจิถูกกล่าวหาว่าเป็นต้นเหตุของพายุไซโคลนที่มากขึ้น ไม่ใช่เพราะวิกฤตสภาพภูมิอากาศ สิทธิมนุษยชนและสิทธิของสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ การเดินขบวนไพรด์จึงไม่ใช่แค่งานเลี้ยงสังสรรค์ หากแต่เป็นการประท้วง!
-
ไม่มีใครอยู่ได้ในโลกที่ตายแล้ว : มองวิกฤตสภาพภูมิอากาศผ่านเลนส์ ‘สิทธิมนุษยชน’
สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานอย่าง “การมีชีวิต” ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป ในวันที่ผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศปรากฎอยู่ตรงหน้าเราอย่างชัดเจนกว่าที่เคยเป็นมา