• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • PM 2.5 Airpocalypse: Time to Upgrade Thailand’s Ambient  Air Quality Standard. © Chanklang  Kanthong / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    3 เรื่องที่ลุงข้างบ้านไม่ได้บอกเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ เศรษฐศาสตร์และ GDP

    เชื่อว่าแต่ละคนมีนิยามคุณภาพชีวิตที่ดีแตกต่างกันไปและนั่นก็ไม่มีถูกไม่มีผิด แต่เชื่อว่าไม่ว่านิยามนั้นจะเป็นอย่างไร การมีคุณภาพชีวิตที่ดีควรจะเริ่มต้นจากการมีปัจจัยพื้นฐานที่มีคุณภาพอย่าง “อากาศที่เราหายใจ”

    วริษา สี่หิรัญวงศ์ •
    10 January 2020
    6 min read
  • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    การเมืองและสภาพภูมิอากาศ เชื้อเพลิงฟอสซิล พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม ระบบนิเวศ ผลกระทบจากพลาสติก

    ไม่มี “สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” หากไร้ซึ่ง “ความเป็นธรรมทางสังคม” : พินิจสถานะสิ่งแวดล้อมไทยปี 2562

    การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ.2562 ในด้านหนึ่ง ดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา

    ธารา บัวคำศรี •
    26 December 2019
    8 min read
  • Air Pollution in Chiang Mai (March 2019). © Vincenzo Floramo / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    #ของมันต้องมี หน้ากากN95 เครื่องฟอกอากาศเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย?

    เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมามีการถกเถียงประเด็นเรื่อง “ผ้าอนามัยเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย” หรือไม่ แต่เมื่อมาสัปดาห์นี้ที่มลพิษทางอากาศสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด พอมองไปที่กล่องใส่หน้ากากอนามัย N95 มีวางไว้บนชั้นหนังสือในห้องแล้วก็อดมีคำถามไม่ได้ว่า “หน้ากากอนามัย N95 เครืองฟอกอากาศถือว่าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยหรือไม่?”

    วริษา สี่หิรัญวงศ์ •
    20 December 2019
    4 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม

    พลังงานแสงอาทิตย์ในทิวเขา : เรื่องราวการใช้โซลาร์เซลล์ต่อชีวิตผู้ป่วยในพื้นที่ห่างไกล

    ปัญหาของการไม่สามารถใช้กระแสไฟฟ้าได้นั้น ไม่เพียงแต่จะกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชนที่อาศัยอยู่บนที่ราบสูงและห่างไกลเท่านั้น แต่ยังกระทบต่อสถานการบริการสาธารณสุขอีกด้วย

    Supang Chatuchinda •
    18 December 2019
    6 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ผู้ก่อมลพิษ (ไม่) ต้องจ่ายที่มวกเหล็ก?

    แหล่งของน้ำนมดิบที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทยกำลังเสี่ยงต่อการปนเปื้อนมลพิษจากถ่านหิน

    สนธยา แสงเพชร •
    17 December 2019
    3 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน ค่าไฟ

    เปิดตัวโรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่6 จากการบริจาคของประชาชน

    นักวิ่งกว่า 600 คนร่วมงานวิ่ง “กินลมชมเมย” เพื่อระดมทุนร่วมกับโรงพยาบาลท่าสองยางสมทบทุนให้กับกองทุนแสงอาทิตย์เพื่อนำมาเป็นค่าใช้จ่ายติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา(Solar PV Rooftop)

    Greenpeace Thailand •
    15 December 2019
    4 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม

    “พลังงานแสงอาทิตย์” เส้นทางสู่ “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ”

    รองนายกเทศมนตรีจังหวัดขอนแก่น คุณจุลนพ ทองโสพิศ และ คุณทัศนัย ประจวบมอญ ผู้อำนวยการส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม งานบริหารกองทุนสุขภาพ เทศบาลนครขอนแก่น ในฐานะคณะผู้บริหารเทศบาลนครขอนแก่น และคณะทำงานโครงการคนขอนแก่นหัวใจไร้มลพิษ พูดคุยถึงนโยบาย “ขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ” ที่ทางเทศบาลมีเป้าหมายจะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ได้ 105,000 ตันภายในระยะเวลา 4 ปี

    Supang Chatuchinda •
    25 November 2019
    9 min read
  • Air Pollution in Beijing. © Greenpeace / Wu Di
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    อันตราย! เมื่อมลพิษทางอากาศ ทำร้ายประชากรในโลก

    ที่ผ่านมา ประชากรที่อาศัยอยู่ในอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถาน จีน ไนจีเรีย อินโดนีเซียและเม็กซิโก ต้องสัมผัสกับระดับมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ที่สูงเกินกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้วยังมีผู้คนอีกร้อยละ 75 ในทวีปยุโรปที่ต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับฝุ่นละออง PM2.5 เกินกว่าค่ามาตรฐาน

    Lauri Myllyvirta และ Joe Sandler Clarke •
    22 November 2019
    5 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    ในวันที่ฝุ่นควัน PM 2.5 กับปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องที่ไม่อาจมองข้าม คุยกับนายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์

    ปัญหาฝุ่นควันไม่ใช่เรื่องใหม่สำหรับชาวเชียงใหม่ และแม้ว่าในอดีตจะเคยเกิดเหตุการณ์ที่ฝุ่นควันบดบังดอยสุเทพจนมองไม่เห็น ทว่าคำถามคือ ทำไมปัญหานี้ถึงยังไม่ได้รับการแก้ไขสักที เราหอบหิ้วความสงสัยนี้ไปถาม ‘หมอหม่อง’ นายแพทย์รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ในฐานะอาจารย์แพทย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่หลายๆ คนอาจรู้จักเขาในฐานะนักเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ผู้ขับเคลื่อนประเด็นฝุ่นควันในเชียงใหม่มาตลอดหลายปี

    คาลิล พิศสุวรรณ •
    19 November 2019
    12 min read
  • ผอ.ประเวช-สัตยากุล-ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านปุน
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม

    เมื่อครูลุกขึ้นปฏิวัติพลังงาน ในโรงเรียนแสงอาทิตย์บ้านปุน

    สำหรับใครที่ติดตามประเด็นเรื่องพลังงานนั้นอาจทราบดีว่า นอกจากจะมีประโยชน์ในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอุตสาหกรรมพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายให้กับโรงพยาบาลแล้ว พลังงานแสงอาทิตย์ยังเป็นพลังงานหมุนเวียนที่นำมาใช้ในวงการการศึกษาอีกด้วย

    Supang Chatuchinda •
    13 November 2019
    4 min read
Prev
1 … 30 31 32 33 34 … 52
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้