• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Air Pollution in Bangkok. © Chanklang  Kanthong / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    ส่องมาตรการของภาครัฐในวันที่ฝุ่น PM2.5 ถล่มเมือง (อีกครั้ง)

    หลังจากฤดูกาลฝุ่นช่วงต้นปี 2562 ในหลายพื้นที่ของประเทศได้ผ่านพ้นไปท่ามกลางคำถามของสาธารณะชนต่อมาตรการรับมือของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ช่วงเดือนกันยายน 2562 ที่ผ่านมามลพิษทางอากาศจากหมอกควันข้ามพรมแดนในสุมาตราและกาลิมันตันของอินโดนีเซียส่งผลให้คุณภาพอากาศรวมถึง PM2.5 อยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชนหลายจังหวัดทางภาคใต้

    ธารา บัวคำศรี •
    30 September 2019
    7 min read
  • Solar Rooftop at Luang Suan Hospital in Thailand. © Greenpeace / Arnaud Vittet
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    อาชีพจากพลังงานแสงอาทิตย์ กู้วิกฤตโลกร้อน

    เนื่องจากโซลาร์เซลล์นั้นเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ในระยะยาว แน่นอนว่าเมื่อมีการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์ขึ้น เราก็จำเป็นต้องดูและรักษาอุปกรณ์และระบบต่างๆให้ดีเพื่อให้โซลาร์เซลล์บนหลังคาของเราผลิตไฟฟ้าได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น อาชีพการติดตั้งและบำรุงรักษาแผงโซลาร์เซลล์จึงเป็นอีกหนึ่งอาชีพใหม่ ที่กำลังขยายตัวลงไปในพื้นที่ต่างๆมากขึ้น

    จริยา เสนพงศ์ •
    4 September 2019
    7 min read
  • Coal Power Plants in Suralaya, Indonesia. © Kasan Kurdi / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    ญี่ปุ่นให้เงินกู้โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศต่างๆ ซึ่งมีการปล่อยมลพิษมากกว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินในญี่ปุ่นถึง 13 – 40 เท่า

    รัฐบาลญี่ปุ่นและสถาบันการเงินระหว่างประเทศเช่น ธนาคารเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น(JBIC), องค์การเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น(JICA), และธนาคารเพื่อการนำเข้าและส่งออกของญี่ปุ่น(Nippon Export and Investment-NEXI)มีบทบาทในการส่งออกมลพิษไปยังประเทศต่างๆ ผ่านการให้เงินกู้โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ซึ่งพบว่ามีการปล่อยมลพิษในระดับที่มากกว่าที่กำหนดไว้ในญี่ปุ่น

    Greenpeace Thailand •
    20 August 2019
    3 min read
  • Coal Power Plants in Suralaya, Indonesia. © Kasan Kurdi / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล มลพิษทางอากาศ

    กรีนพีซรายงานผลพื้นที่มลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลก

    ผลจากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมของนาซาระบุว่าโรงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมที่ใช้ถ่านหินและน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงเป็นแหล่งกำเนิด 2 ใน 3 ของมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ส่วนโรงกลั่นน้ำมันและโรงถลุงเหล็ก ก็เป็นหนึ่งในแหล่งกำเนิดมลพิษซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทั่วโลกเช่นเดียวกัน

    Greenpeace Thailand •
    19 August 2019
    2 min read
  • Solar Rooftop at Luang Suan Hospital in Thailand. © Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน คนและสังคม

    สำรวจเรื่องราวแสงอาทิตย์ อำเภอหลังสวน ชุมพร

    ที่อำเภอหลังสวน ในจังหวัดชุมพรแห่งนี้มีกลุ่มคนอีกหลายกลุ่มที่สนับสนุนการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ทั้งวัดวาอาราม หรือการสนับสนุนในรูปแบบของการนำทักษะความรู้ของการติดตั้งโซลาร์เซลล์มาบูรณาการในหลักสูตรการสอนของโรงเรียน

    Supang Chatuchinda •
    13 August 2019
    8 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน ค่าไฟ

    ชาวชุมพรขับเคลื่อนความเป็นธรรมทางพลังงาน ร่วมติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปที่โรงพยาบาลหลังสวน

    การติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการช่วงแรกของกองทุนแสงอาทิตย์(Thailand Solar Fund) ที่ใช้เงินบริจาคจากประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานให้กับโรงพยาบาลของรัฐ 7 แห่ง

    Greenpeace Thailand •
    8 August 2019
    5 min read
  • Hiroshima Atomic Bombing 60th Anniversary. Japan 2005. © Greenpeace / Jeremy Sutton-Hibbert
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    นิวเคลียร์

    จากฮิโรชิมาถึงปัจจุบัน นิวเคลียร์สามารถสร้างสันติสุขได้จริงหรือ?

    เวลา 8.15 น. ของวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488   กองกำลังทหารสหรัฐฯ ได้ทิ้งระเบิดปรมาณูลงบริเวณเมืองฮิโรชิมา ของประเทศญี่ปุ่น และหลังจากนั้นเพียง 3 วัน ระเบิดปรมาณูลูกที่ 2 ได้ถูกทิ้งที่เมืองนางาซากิ

    Kazue Suzuki •
    5 August 2019
    4 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    คาดการณ์มลพิษได้ แต่คาดการณ์ผลกระทบไม่ได้: อะไรคือทางออกที่แท้ทรู

    จากกรณีที่กรมควบคุมมลพิษประกาศพัฒนา “ระบบคาดการณ์มลพิษทางอากาศ”​ เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคมที่ผ่านมา ซึ่งเป็นการพยากรณ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 เพื่อแจ้งเตือนประชาชน โดยพัฒนาระบบดังกล่าวจากปัจจุบันที่สามารถคาดการณ์มลพิษทางอากาศที่แม่นยำสูงสุดได้ไม่เกิน 3 วันเป็น 5 - 7 วันในพื้นที่ต่างๆ

    วริษา สี่หิรัญวงศ์ •
    25 July 2019
    3 min read
  • Chernobyl mini series
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    นิวเคลียร์

    เหตุการณ์ “เชอร์โนบิล” ภัยพิบัติที่ยังไร้จุดจบ

    เหตุการณ์ครั้งนั้นมีประชากรเกือบ 350,000 คนที่ถูกอพยพออกจากบ้าน และในปัจจุบัน ผู้คนประมาณ 5 ล้านคนยังคงต้องอาศัยอยู่ในบริเวณที่ระบุไว้ว่าปนเปื้อน และจากการคาดการณ์ขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่ามีผู้เสียชีวิตจากภัยพิบัติเชอร์โนบิลมากกว่า 9,000 คน

    Rashid Alimov •
    4 July 2019
    5 min read
  • Solar Panels on Chancellery Building in Berlin. © Paul Langrock / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    สงครามไฟฟ้า โซลาร์รูฟท็อป

    พ.ศ.2427 คือปีที่แผงเซลแสงอาทิตย์ชุดแรกของโลกปรากฎอยู่บนหลังคาในเมืองนิวยอร์ก โดยชาร์ล ฟริทส์ ติดตั้งขึ้นหลังจากค้นพบว่าแผ่นซีลีเนียมบางที่วางทาบแผ่นโลหะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเมื่อเจอกับแสงแดด

    ธารา บัวคำศรี •
    27 June 2019
    9 min read
Prev
1 … 32 33 34 35 36 … 52
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้