-
สิทธิชุมชน คนอยู่กับป่า ต้องเป็นสิทธิพื้นฐานในการดำรงชีวิต
สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและอนุรักษ์จะแก้ปัญหาความไม่มั่นคงกรณีที่อยู่อาศัยและทำกินซึ่งเชื่อมโยงอย่างมีนัยยะกับนโยบายการสนับสนุนพืชเกษตรที่ไม่ยั่งยืน สิทธิของคนที่อยู่อาศัยพึ่งพิงและดูแลรักษาผืนป่าอย่างเช่นชุมชนและชนพื้นเมืองจะเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของประเทศในการปกป้องผืนป่าและต่อกรกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศต่อไป
-
โค้งสุดท้าย! ส่องนโยบายพรรคการเมืองเรื่องสิทธิด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเวทีสิทธิมนุษยชน ก่อนเข้าคูหา
เปิดวิสัยทัศน์พรรคการเมือง 12 พรรค ส่องนโยบายสิทธิมนุษยชนผ่านเวทีภาคประชาชน โดย กรีนพีซ ประเทศไทย ได้ฝากกระทู้คำถามถึงทั้ง 12 พรรคการเมือง บนเวที
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณี (ร่าง)ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยฉบับใหม่
ล่าสุด กรมควบคุมมลพิษเปิดให้มีการร่วมแสดงความคิดเห็นต่อ (ร่าง)ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง ดัชนีคุณภาพอากาศ(Air Quality Index)ของประเทศไทย พ.ศ…. โดยที่ดัชนีคุณภาพอากาศเป็นตัวแทนความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศ 6 ชนิด และเป็นตัวเลขที่ไม่มีหน่วยเพื่อบ่งชี้และเฝ้าระวังคุณภาพอากาศตลอดจนรายงานสถานการณ์มลพิษทางอากาศให้กับประชาชน
-
The Mercury Monster
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย ฉบับกราฟิก
-
ฝนตกแล้วแต่ฝุ่นพิษยังอยู่! เพราะไม่อยากเจอฝุ่น PM2.5 ทุกปี วิกฤตฝุ่นพิษแม่สายต้องแก้ไขด้วยแนวทางระยะยาว
‘ใน อ.แม่สาย ไม่มีจุดความร้อนเลย แต่ประชาชนในอำเภอกลับได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 จากการเผาอย่างหนัก ปัญหาฝุ่นใน อ.แม่สาย มักจะมาจากมลพิษที่ข้ามพรมแดนมา จึงหาข้อมูลเพิ่มเติมและทราบข้อมูลเรื่องการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในปี 2565 ไทยนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากพม่าสูงถึง 14,312 ล้านบาท และจากการพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลกับนักวิชาการหลายคนทำให้เราเชื่อว่านี่คือหนึ่งในสาเหตุของมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นในแม่สาย’ – นายกเอ (ชัยยนตร์ ศรีสมุทร นายกเทศมนตรีตำบลแม่สาย)
-
กรีนพีซระบุ ปีนี้จีนอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเพิ่มขึ้นจากปี 2564
เอกสารอนุมัติอย่างเป็นทางการระบุว่ารัฐบาลท้องถิ่นของจีนอนุมัติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินอย่างน้อย 20.45 กิกะวัตต์ ภายในระยะเวลา 3 เดือนแรกของปี 2566 โดยให้เหตุผลถึงความกังวลด้านความมั่นคงทางพลังงาน
-
Earth Day : วันคุ้มครองโลก
ในเดือนเมษายนของทุกปี ทั้งโลกจะเฉลิมฉลองวันคุ้มครองโลก (Earth Day) บริษัทต่าง ๆ มักจะอาศัยจังหวะนี้โปรโมทแคมเปญด้านความยั่งยืน แต่ปีนี้มีความพิเศษที่ทำให้บริษัทต่าง ๆ ให้ความสนใจ คือ ธีมของปีนี้ที่พูดถึงการลงทุนเพื่อโลกของเรา ทำให้เกิดคำถามว่าบริษัทต่าง ๆ จะตีโจทย์เรื่องความยั่งยืนออกมาเป็นแบบไหนและจะประสบความสำเร็จได้อย่างไร
-
ทำไมค่าไฟจะไม่พุ่ง เมื่อคนไทยต้องจ่ายค่าไฟที่ไม่ได้ใช้ ?
เราควรบันทึกไว้ว่าค่าเอฟทีหรือค่าไฟฟ้าผันแปรในประเทศไทยได้พุ่งขึ้นสูงสุดในรอบ 30 ปีในนี้ ส่งผลให้ค่าไฟพุ่งสูงแตะ 4.77 บาทต่อหน่วยในเดือนเมษายน 2566
-
อย่าลืม ‘จะนะ’ และทะเลไทย : เพราะการพัฒนาพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งต้องฟังเสียงชุมชนในพื้นที่
ในการออกแบบนโยบายปกป้องทะเลและมหาสมุทร ผู้ออกแบบหรือพรรคการเมืองควรจะต้องให้ความสำคัญกับสิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจสู่ประชาชนในการกำหนดอนาคตตนเอง บนข้อมูลด้านทรัพยากรและหลากหลายทางชีวภาพของทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งศักยภาพของชุมชน
-
#เลือกตั้ง66 ส่องสิ่งแวดล้อมไทยที่ต้องแก้ด้วยโครงสร้างและนโยบาย
จากข้อมูลงบประมาณด้านสิ่งแวดล้อมปี 2565 โดยสำนักงบประมาณจะพบว่า การจัดสรรงบประมาณมีการขึ้นลงอย่างไม่คงที่ โดยในปี 2565 งบประมาณด้านนี้กลับถูกจัดสรรลดลง