-
ลาก่อน พลังงานนิวเคลียร์ : สิ้นสุดยุคนิวเคลียร์ในเยอรมนี
หลังจากการประท้วงตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา ยุคพลังงานนิวเคลียร์ในเยอรมนีสิ้นสุดลงแล้ว โรแลนด์ ฮิปป์ กรรมการผู้จัดการ กรีนพีซ เยอรมนี มองย้อนกลับไป พร้อมกับวิสัยทัศน์แห่งอนาคต
-
ปัว เล เปง นักต่อสู้ผลักดันขยะกลับประเทศต้นทาง ผู้เชื่อว่า การรีไซเคิลคือการฟอกเขียว
นักเคลื่อนไหวเรื่องปัญหาขยะพลาสติกในมาเลเซีย เธอทำงานรณรงค์ต่อต้านประเด็นนำเข้าขยะมาอย่างยาวนาน ปัวเริ่มต้นสนใจประเด็นนี้จากโรงงานรีไซเคิลขยะพลาสติกที่ตั้งอยู่ในชุมชนของเธอและมันส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพความเป็นอยู่ของคนในชุมชน สุขภาพ มลภาวะทางอากาศ และสิ่งแวดล้อม ปัวจึงลุกขึ้นสู้เพื่อปกป้องบ้านเกิดของตนเอง ณ เมืองเจนจารอม รัฐเซลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย
-
ทำไมฤดูร้อนของไทยอากาศร้อนจนแทบอยู่ไม่ได้ ?
ช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี เราสามารถสัมผัสกับอากาศร้อนที่อาจสูงถึง 40°C ในปี 2559 ประเทศไทยต้องเผชิญกับคลื่นความร้อนที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 65 ปี
-
ขยะพลาสติกผู้ผลิตต้องรับผิดชอบ : หยุดผลักภาระให้ประชาชน ต้องแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นตอของวิกฤต
เพราะมลพิษพลาสติกส่งผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะต่อสุขภาพของประชาชน ปัญหาขยะพลาสติกจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมแก้ไปพร้อม ๆ กัน ทั้งเชิงโครงสร้างและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-
แถลงการณ์ ทำแล้ว ทำอยู่ ทำอะไร ทำไมปอดถึงพัง: ประชาชนภาคเหนือฟ้องนายกฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเหตุไม่ใช้อำนาจทางกฎหมายแก้วิกฤตฝุ่น PM2.5
วันที่ 10 เมษายน 2566 เครือข่ายประชาชนได้ร่วมกันยื่นฟ้องพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์-โอชา นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ไม่ได้ใช้มาตรการทางกฎหมาย กลไกทางสิทธิมนุษยชน นโยบาย และแผนที่มีอยู่ เพื่อกำหนดมาตรการป้องกันและจัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อแก้ไขสถานการณ์วิกฤตฝุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
ภาคประชาสังคมย้ำ นโยบายพรรคการเมืองต้องรับรองสิทธิมนุษยชนที่หลากหลาย รวมถึงสิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม แรงงานข้ามชาติ ผู้ลี้ภัย คนพิการ เด็ก สตรี ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศและกลุ่มชาติพันธุ์ ในประเทศไทย
ภาคประชาสังคมจัดงานแถลงข่าว “เลือกตั้ง 2566 : ฟังเสียงนโยบายภาคประชาสังคม (Civil Society's Agenda for the 2023 Thailand Election)” ที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอข้อเสนอแนะด้านสิทธิมนุษยชนหลากหลายประเด็น ครอบคลุมทั้งสิทธิพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม แรงงานข้ามชาติ ผู้ลี้ภัย คนพิการ เด็ก สตรี ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ สิทธิมนุษยชนและการพัฒนา รวมทั้งกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย ต่อตัวแทนพรรคการเมืองและสาธารณชน
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย : รัฐบาลรักษาการณ์ต้องประกาศให้พื้นที่ประสบฝุ่นพิษ PM2.5 เป็นเขตภัยพิบัติทันที เพื่อปกป้องสุขภาพของประชาชน
วิกฤตฝุ่น PM2.5 ที่ภาคเหนือตอนบนตอนนี้คือพิบัติที่ส่งผลต่อประชาชนในวงกว้างอย่างร้ายแรงที่รัฐจะต้องประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากปัญหาฝุ่นพิษเพื่อดูแลสุขภาพของประชาชน
-
ผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศต่อเด็กไทย
เด็กในภาคอีสานและใต้ที่สุดได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศมากที่สุด ปี 2562 เด็กในไทย 73% ไปโรงเรียนไม่ได้จากสภาพอากาศสุดขั้ว
-
Carbon Foodprint มองอาหารผ่านการผลิตและการกินของ รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล
ภาคเหนือตอบนของไทยเป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่ออุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นระยะเวลาเกือบสองทศวรรษ ทั้งมลพิษข้ามพรมแดนที่คุกคามสุขภาพ และป่าไม้ที่สูญเสียไปเพื่อเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งการผลิตเนื้อสัตว์ของไทยนั้นนอกจากเลี้ยงคนในประเทศแล้ว ยังมีสัดส่วนในการส่งออกผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ไปยังตลาดโลกเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สถานการณ์เหล่านี้ทำให้ความหมายของการกินและการผลิตของไทยเป็นอย่างไร เราได้ชวน รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล มาพูดคุยถึงอาหาร ที่มากกว่าความอิ่ม แต่หมายถึงคาร์บอนฟุตปรินท์ สัตว์ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ
-
อย่าลืมปัญหาฝุ่นพิษ : จะแก้ปัญหาฝุ่นควันภาคเหนือ ต้องหยุดโทษคนตัวเล็ก และกล้าเอาผิดอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้อากาศสะอาดจะเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเราทุกคน แต่ดูเหมือนว่าในปัจจุบันอากาศสะอาดกลับกลายเป็นทรัพยากรที่เข้าถึงยากขึ้นเรื่อย ๆ ประชาชนยังคงต้องสูดฝุ่น PM2.5 โดยไม่เห็นวี่แววว่าสถานการณ์จะดีขึ้นแต่อย่างใด