-
ทำไมเกรตแบร์ริเออร์รีฟถึงกำลังวิกฤต
เกรตแบร์ริเออร์รีฟ (The Great Barrier Reef) ซึ่งเป็นแนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลกกำลังเสื่อมโทรมลงอย่างน่าตกใจ ในเวลา 30 ปีที่ผ่านมา เราสูญเสียปะการังไปกว่าครึ่ง
-
ความรุนแรงของภาวะโลกร้อนที่พบได้จากปรากฏการณ์เอลนีโญ
ปรากฎการณ์เอลนีโญในปีที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดพายุเฮอริเคนแพทริเซียที่ใหญ่ที่สุดซึ่งทำลายสถิติที่เคยบันทึกไว้ พายุลูกดังกล่าวอาจสร้างความเสียหายต่อป่าพรุและทำให้เกิดไฟป่าที่เลวร้ายที่สุดอย่างกระทันหันในอินโดนีเซียซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นนี้อาจเป็นเพียงแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น
-
Right to Clean Air หยุดหมอกควันพิษ
มลพิษทางอากาศในประเทศไทยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ มลพิษทางอากาศและฝุ่นละอองในบรรยากาศมีผลกระทบทางสุขภาพในหลายด้าน โดยเป็นปัจจัยรวมอันก่อให้เกิดโรคต่างๆ ได้แก่ กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด โรคเรื้อรังของทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจส่วนล่าง และโรคมะเร็งปอด โดยก่อให้เกิดการตายก่อนวัยอันควรในประเทศไทย ประมาณ 50,000 คนต่อปี(1) ดังนั้น มลพิษทางอากาศจึงเป็นปัญหาที่ควรได้รับความสําคัญด้านนโยบาย ในหลายพื้นที่ของประเทศที่เรียกว่าเป็น “พื้นที่วิกฤตคุณภาพอากาศ” ยังคงมีสารมลพิษทางอากาศเกินค่ามาตรฐาน
-
การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่
ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ
-
จุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้
โลกของเรากำลังอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับไปได้แล้ว เราต้องเลือกระหว่างการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนถ่านหิน น้ำมันและก๊าซ หรือเลือกที่จะเผชิญหน้ากับอนาคตที่มีหายนะจากภาวะโลกร้อนรออยู่
-
เขตคุ้มครองธรรมชาติแห่งอาร์กติก
ขณะนี้ น้ำแข็งในทะเลอาร์กติกกำลังละลาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ทำให้ปริมาณน้ำแข็งในทะเลช่วงฤดูร้อนลดลงไปอย่างน้อยร้อยละ 75 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์
-
จากอาร์กติกสู่ไทย
ผลกระทบของสภาวะโลกร้อนที่ไม่ได้อยู่แค่เพียงในอาร์กติก การดำรงอยู่ของพวกเราล้วนเกี่ยวข้องกับอาร์กติก นอกเหนือจากจะเป็นบ้านของสัตว์นานาสายพันธุ์แล้ว ภูมิภาคนี้ยังมีบทบาทในการรักษาสภาพภูมิอากาศของโลก โดยทำหน้าที่เป็นเสมือนตู้เย็นของโลกคอยรักษาระดับความเย็นของโลกทั้งใบไว้
-
เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว เผาป่าสะเทือนถึงผืนทะเล
คุณเชื่อเรื่องเช่นนี้หรือไม่ อาจฟังดูเหลือเชื่อ แต่วลีนี้ขยายความถึง “ทฤษฏีไร้ระเบียบ” (Chaos Theory) ซึ่งอธิบายว่าการทำลายธรรมชาติแม้เพียงเล็กน้อยจะส่งผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อโลกของเรา
-
อาร์กติกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นในรูปแบบของมรสุมพายุซึ่งเราต่างรับรู้และเผชิญกับมหันตภัยของมันมาหลายต่อหลายครั้งแล้ว เช่น พายุใต้ฝุ่นที่ทวีความรุนแรงและเกิดบ่อยยิ่งขึ้นในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เมื่อถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ
โลกของเรากำลังเดินมาถึงจุดที่ไม่มีทางย้อนกลับ และเราจำเป็นต้องป้องกันผลกระทบที่ร้ายแรงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หากยังปล่อยให้เป็นเช่นนี้ต่อไปจะยิ่งทำให้ยาก หรือแม้แต่แทบจะเป็นไปไม่ได้ที่จะป้องกันภัยพิบัติในวงกว้างของสภาวะโลกร้อน คงจะมีมูลค่าความเสียหายมหาศาล